ความรู้

วิดีโอสื่อความรู้มรดกวัฒนธรรม ตอนที่ 4 มรดกวัฒนธรรมไม่ลงรอย

พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ขอร่วมสร้าง “The Power of Museum” โดยเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม วันนี้ขอเสนอตอนที่ 4 ชื่อว่า “ มรดกวัฒนธรรมไม่ลงรอย” https://www.youtube.com/watch?v=RqpGSfBMg1A

๓๐ ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

        โดยรูปศัพท์ คำ พิพิธภัณฑ์ หมายถึง “สถานที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งต่างๆ” (พิพิธ-ต่างๆ กัน , ภัณฑ์- สิ่งของ เครื่องใช้) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาและก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ        ในความเข้าใจโดยทั่วไป พิพิธภัณฑ์ จึงมักคาดหวังกันว่า จะเป็นสถานที่สะสม รวบรวมสิ่งของต่าง ๆ...

สารคดี “มรดกวัฒนธรรมเชิงช่างเมืองเพชร”

จาก นิทรรศการ สู่สารคดี “มรดกวัฒนธรรมเชิงช่างเมืองเพชร”ร่วมหาคำตอบมรดกวัฒนธรรมเชิงช่างเมืองเพชรคืออะไร ? https://www.youtube.com/watch?v=X7bgoPD7wLc

ฃุนน้อย : เจ้าชายน้อย ฉบับภาษาถิ่นสุโขทัย-ลายสือไท

หนังสือ “ฃุนน้อย” ฉบับ ลายสือไทและภาษาถิ่นสุโขทัย ฉบับนี้ เป็นผลงานสืบเนื่องจากนิทรรศการ “เจ้าชายน้อย : หนังสือ ของสะสมและการสนทนาข้ามวัฒนธรรม” ซึ่งจัดขึ้นโดยพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ และคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในปี พ.ศ.2563 หนังสือ “ฃุนน้อย” ฉบับนี้แปลขึ้นใหม่เป็นภาษาท้องถิ่นสุโขทัยและถ่ายถอดคำแปลด้วยอักษร “ลายสือไท สมัยสุโขทัย”  ในการแปลอาศัยต้นฉบับ...

ขอเชิญร่วมงานสัมมนา ครั้งที่ 3 ข้อถกเถียงในมรดกวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Current Issues in Cultural Heritage of Southeast...

UPCOMING 3rd WEBINAR AUGUST 31st, 2021, 5-7 pm. (Bangkok, GMT+7) Current Issues in Cultural Heritage of Southeast Asia: CONFLICTS AND HERITAGE POLITICS   Speakers วิทยากร อาจารย์อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล Udomluck Hoontrakul คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา...

ชีวิตในจิตรกรรมฝาผนัง: จากคลังภาพจิตรกรรมฝาผนัง: อู่ทอง ประศาสน์วินิจฉัย

เนื้อหา สงกรานต์ไทย: มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ

งานวิจัยเรื่อง ธรรมาสน์ไม้แกะสลักในเพชรบุรี: การวิจัยเชิงสำรวจ

งานวิจัยเรื่อง ธรรมาสน์ไม้แกะสลักในเพชรบุรี: การวิจัยเชิงสำรวจ สามารถดาวน์โหลดได้ที่  ธรรมาสน์ไม้แกะสลักในเพชรบุรี: การวิจัยเชิงสำรวจ

คน ข้าว นา ควาย ในวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

มองสังคมผ่านวิวัฒนาการ ‘ข้าว มนุษย์รู้จักปลูกข้าวตั้งแต่เมื่อไร มีศาสตร์หลายสาขาที่ใช้ ‘ข้าว’ เป็นวัตถุในการศึกษาสังคมมนุษย์ เพราะวิวัฒนาการ ของการเพาะปลูกข้าวสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม และ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกันเองในช่วงที่มีการเปลี่ยนผ่านทางสังคมจากการหาของป่าล่าสัตว์มาเป็นสังคมเกษตรกรรม หลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่ามนุษย์ใน ลุ่มแม่น้ำแยงซีนำข้าวมาเป็นอาหารเมื่อกว่าหมื่นปีที่แล้ว และเริ่มเพาะปลูกข้าวเมื่อ ประมาณ 6,000 ปีที่แล้ว ก่อนที่จะแพร่กระจายไปยังภูมิภาคต่างๆจนมีการเพาะปลูก อย่างแพร่หลายในปัจจุบันการวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์เชิงโบราณคดีเผยให้เห็นถึง ความซับซ้อนของกระบวนการกลายมาเป็น ‘พันธุ์พืชปลูก’ ของข้าว พัฒนาการทางสังคมกับการเพาะปลูก        เมื่อหลังสิ้นสุดยุคน้ำแข็ง อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้นและมีฝนตกชุก...

วานร ถึง มนุษย์: รอยเท้าแรกของบรรพชน

อาจกล่าวได้ว่าหลักฐานของ “การเดินทาง” ครั้งแรกเพื่อที่จะเป็น “มนุษย์” เริ่มขึ้นที่ประเทศแทนซาเนีย ทวีปแอฟริกาตะวันออก

วานรวิทยาและการศึกษาไพรเมต: ผู้ชายทำความเข้าใจ “ซาก” ผู้หญิงทำความเข้าใจ “ชีวิต” ?

Louis Leakey พ.ศ. 2446-2515 จุดเปลี่ยนสำคัญของวงการวานรวิทยาและไพรเมตศึกษาที่สร้าง ความสนใจให้กับสาธารณชนในวงกว้าง กล่าวได้ว่ามาจากผู้ชาย คนหนึ่ง คือ ดร.หลุยส์ ลีคกี (Louis Leakey พ.ศ....