หนังสือประกอบนิทรรศการ Primates and me
ปก/คำนำ/สารบัญ อ่าน
ภาคแรก: วานรและไพรเมต /วานรถึงมนุษย์ : รอยเท้าแรกของบรรพชน /วานรถึงมนุษย์ จากลูซี ถึงปรีดี พนมยงค์ อ่าน
ภาคสอง: วานรวิทยาและการศึกษาไพรเมต ผู้ชายทำความเข้าใจซาก ผู้หญิงทำความเข้าใจ...
งานเปิดนิทรรศการ PRIMATES and ME เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์ ณ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
กำหนดการ งานเปิดนิทรรศการ PRIMATES and ME เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์
ภาคเช้า
วันที่ 15 มิถุนายน 2567 เวลา 09.00-12.00น.
พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ: ขวัญแรกและกำลังใจเกษตรกรไทย
ปี 2567 ได้กำหนดให้วันศุกร์ที่ 10 พฤษภาคม 2567 เป็นวันพืชมงคล หรือวันเริ่มตนแห่งฤดูกาลเพาะปลูก
วันพืชมงคล จะมีพระราชพิธี 2 พิธีรวมกัน คือ พระราชพิธีพืชมงคล อันเป็นพิธีสงฆ์ (เพิ่งมีขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตรโกสินทร์) เป็นพระราชพิธีวันแรกในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม...
สงกรานต์ไทย: มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ Songkran in Thailand: The Intangible Cultural Heritage of Humanity
คำ “สงกรานต์” เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า การเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนย้าย หมายถึง การเคลื่อนย้ายของพระอาทิตย์จากราศีหนึ่งสู่ราศีหนึ่ง สงกรานต์ จึงเป็นช่วงเวลาที่พระอาทิตย์เคลื่อนย้ายจากราศีมีนสู่ราศีเมษโดยถือว่าเป็นช่วงเวลาของการเข้าสู่ปีใหม่
ถือกันว่าวันที่ 13 เมษายน เป็นวันสิ้นปีเก่า ซึ่งเป็นวันมหาสงกรานต์ ซึ่งเป็นวันที่พระอาทิตย์เคลื่อนย้ายไปสู่ ราศีเมษ ส่วนวันที่ 14...
ชีวิตในจิตรกรรมฝาผนัง: จากคลังภาพจิตรกรรมฝาผนัง: อู่ทอง ประศาสน์วินิจฉัย
เนื้อหา
สงกรานต์ไทย: มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ
“วัฒนธรรม” ของวานร
ในกระบวนการวิวัฒนาการ กลุ่มไพรเมตมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ สมองไพรเมตในส่วนที่ควบคุมการมองเห็นมีความซับซ้อนและหลากมิติมากขึ้น ในขณะที่สมองของการควบคุมการได้กลิ่นลดลง ตาทั้งสองข้างมองเห็นภาพที่มีความคมชัดขึ้นในกรอบที่กว้างกว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ทำให้ “การมอง” มีบทบาทสำคัญเพิ่มมากขึ้นต่อการเรียนรู้ มีการศึกษาว่าลีเมอร์ (Lemur) ซึ่งอยู่ในกลุ่มโพรซิเมียน (Prosimian) ลูกจะเรียนรู้แบบแผนพฤติกรรมจากแม่ โดยลูกมักจะให้ความสนใจสังเกตพฤติกรรมแม่ มากกว่าที่แม่จะสนใจมองลูก หรือ...
เมื่อวานรเข้าสู่ “ยุคหิน” ?: “เครื่องมือ” และการนิยามความเป็นมนุษย์
ระหว่างที่เจน กูดัลล์ สังเกตพฤติกรรมของชิมแปนซีในเขตสงวนพันธุ์สัตว์ป่าลำธารกอมเบ ประเทศแทนซาเนีย ช่วง พ.ศ. 2503 เธอสังเกตเห็น ชิมแปนซีตัวที่เธอตั้งชื่อให้ว่า เดวิด เกรย์เบียร์ด นั่งยอง ๆ ข้าง ๆ จอมปลวก เด็ดใบหญ้าแหย่ลงในโพรง แล้วดึงใบหญ้าที่เต็มไปด้วยปลวกออกมา...
วิธีวิทยาของการศึกษาวานร
ครอบครัวชะนีในอุทยานเขาใหญ่
จากการทำงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง โดยทีมนักวิจัยชะนีของมหาวิทยาลัยมหิดลและศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทำให้มีการตั้งชื่อให้กับชะนีแต่ละตัว โดยแต่ละตัวจะได้รับการตั้งชื่อโดยนักวิจัยที่พบชะนีตัวนั้นเป็นคนแรก ชื่อชะนีจึงมีทั้งภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่นและไทย จากการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบทำให้สามารถระบุได้ว่าชะนีแต่ละตัวเป็นสมาชิกของครอบครัว (group) ใด
ที่มา : ดร.จันทร์เพ็ญ ศรลัมพ์ “บันทึกชีวิตชะนีใน 1...