คน ข้าว นา ควาย ในวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
มองสังคมผ่านวิวัฒนาการ ‘ข้าว
มนุษย์รู้จักปลูกข้าวตั้งแต่เมื่อไร มีศาสตร์หลายสาขาที่ใช้ ‘ข้าว’ เป็นวัตถุในการศึกษาสังคมมนุษย์ เพราะวิวัฒนาการ ของการเพาะปลูกข้าวสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม และ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกันเองในช่วงที่มีการเปลี่ยนผ่านทางสังคมจากการหาของป่าล่าสัตว์มาเป็นสังคมเกษตรกรรม หลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่ามนุษย์ใน ลุ่มแม่น้ำแยงซีนำข้าวมาเป็นอาหารเมื่อกว่าหมื่นปีที่แล้ว และเริ่มเพาะปลูกข้าวเมื่อ ประมาณ 6,000 ปีที่แล้ว ก่อนที่จะแพร่กระจายไปยังภูมิภาคต่างๆจนมีการเพาะปลูก อย่างแพร่หลายในปัจจุบันการวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์เชิงโบราณคดีเผยให้เห็นถึง ความซับซ้อนของกระบวนการกลายมาเป็น ‘พันธุ์พืชปลูก’ ของข้าว
พัฒนาการทางสังคมกับการเพาะปลูก
เมื่อหลังสิ้นสุดยุคน้ำแข็ง อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้นและมีฝนตกชุก...
นิทรรศการ “ เจ้าชายน้อย : หนังสือ การสะสมและการสนทนาข้ามวัฒนธรรม”
นิทรรศการ เจ้าชายน้อย: หนังสือ การสะสมและการสนทนาข้ามวัฒนธรรม
77 ปีหนังสือเจ้าชายน้อย (พ.ศ.2486-2563)
“เจ้าชายน้อย” เป็นวรรณกรรมที่ได้รับการแปลเป็นภาษาต่างๆ มากที่สุดในโลก รองจากคัมภีร์ไบเบิล คือมากกกว่า 380 ภาษา ใน 62 ประเทศหลังการตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ.2486 เป็นภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส จากนั้นจึงแปลเป็นภาษาโปลิช (Polish) ในปี พ.ศ. 2490 แล้วขยายเป็นภาษาอื่นๆ ในกลุ่มประเทศยุโรปตะวันตกและยุโรปเหนือ...
หนังสือ วานรศึกษา Primate Studies
ปก คำนำ สารบัญ อ่าน
บทนํา เมื่อลิงเปลือยศึกษาวานร โดย สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ และ วรวิทย์ บุญไทย อ่าน
จาก Primate & Me...
สิ่งของจากภาคสนาม
บัตรผ่านประตู
วัตถุจัดแสดง : บัตรผ่านประตูการแข่งขันฟุตบอล, เสื้อยืดทีมการท่าเรือ เอฟซีแหล่งที่มา : กรุงเทพฯเจ้าของ...
คนกับของ
เกรียงไกร-หน้ากาล
อ.ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
วัตถุ: หน้ากาล มธ.323.2535
“หน้ากาล” หรือ “เกียรติมุข” เป็นประติมานวิทยาที่นิยมนำมาตกแต่งศาสนาสถานทั้งในฮินดูและพุทธศาสนา ทว่าหน้ากาลที่เก็บรักษาในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ คือ หน้ากาลที่เคยตกแต่งบนองค์เจดีย์พุทธศาสนา ซึ่งมีความหมายว่า ...กาลเวลาเป็นสิ่งหนึ่งที่เฝ้ากลืนกินสรรพสิ่ง แม้กระทั่งตัวมันเอง และเป็นสัจจะนิรันดร์...ทว่าหน้ากาลชิ้นนี้ได้นำมาเก็บรักษาในพิพิธภัณฑ์ที่มีเป้าหมายในการยื้อยุดมิให้กาลเวลาทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ด้วยเป้าหมายของการเป็น “วัตถุทางวัฒนธรรม” สำหรับการเรียนรู้ ...ด้วนสถานะนี้ หน้ากาลชิ้นนี้ จึงมีความหมายที่ย้อนแย้ง ด้วยกำลังถูกยื้อยุดมิให้เปลี่ยนแปลงภายใต้ความหมาย และภายใน...
ฃุนน้อย : เจ้าชายน้อย ฉบับภาษาถิ่นสุโขทัย-ลายสือไท
เจ้าชายน้อย และ ฃุนน้อย
หนังสือ “เจ้าชายน้อย” ( Le Petit...
๓๐ ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
โดยรูปศัพท์ คำ พิพิธภัณฑ์ หมายถึง “สถานที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งต่างๆ” (พิพิธ-ต่างๆ กัน , ภัณฑ์- สิ่งของ เครื่องใช้) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาและก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ
ในความเข้าใจโดยทั่วไป พิพิธภัณฑ์ จึงมักคาดหวังกันว่า จะเป็นสถานที่สะสม รวบรวมสิ่งของต่าง ๆ...
Le Petit Prince: Books, Collections and Cross-Cultural Dialogues.
77 Years of The Little Prince (1943-2020)
The Little Prince has been translated into more than 380 languages amongst 62 countries, making this novella (short...
แสง สิ่งของ และการมองเห็น
โดยพื้นฐานแล้ว มนุษย์รับรู้และทำความเข้าโลกโดยผ่านดวงตา
“การมองเห็นมาก่อนถ้อยคำ เด็กๆ มองเห็นและจดจำ ก่อนที่จะพูด (Seeing comes before words. The child looks and recognizes before it can speak. John Berger. Way of seeing...
ฃุนน้อย : เจ้าชายน้อย ฉบับภาษาถิ่นสุโขทัย-ลายสือไท
หนังสือ “ฃุนน้อย” ฉบับ ลายสือไทและภาษาถิ่นสุโขทัย ฉบับนี้ เป็นผลงานสืบเนื่องจากนิทรรศการ “เจ้าชายน้อย : หนังสือ ของสะสมและการสนทนาข้ามวัฒนธรรม” ซึ่งจัดขึ้นโดยพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ และคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในปี พ.ศ.2563
หนังสือ “ฃุนน้อย” ฉบับนี้แปลขึ้นใหม่เป็นภาษาท้องถิ่นสุโขทัยและถ่ายถอดคำแปลด้วยอักษร “ลายสือไท สมัยสุโขทัย” ในการแปลอาศัยต้นฉบับ...