ความรู้

เมื่อวานร “สนทนา”

ในการทดลองกับวานรใหญ่ไร้หาง เช่น กอริลลา ชิมแปนซี และโบโนโบ พบว่าสามารถเรียนรู้ไวยากรณ์ในภาษาสัญลักษณ์หรือภาษาท่าทาง แม้จะอยู่ในระดับต่ำกว่ามนุษย์วัยผู้ใหญ่ แต่ก็อยู่ในระดับสูงกว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป จากการศึกษา โกโก้ (Koko) กอริลลาที่เกิดในสวนสัตว์ซานฟรานซิสโก (เกิด พ.ศ.2514-2561) พบว่าสามารถเรียนรู้ “ภาษาสัญลักษณ์” ได้จำนวนเท่ากับเด็ก...

วิดีโอสื่อความรู้มรดกวัฒนธรรม ตอนที่ 4 มรดกวัฒนธรรมไม่ลงรอย

พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ขอร่วมสร้าง “The Power of Museum” โดยเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม วันนี้ขอเสนอตอนที่ 4 ชื่อว่า “ มรดกวัฒนธรรมไม่ลงรอย” https://www.youtube.com/watch?v=RqpGSfBMg1A

วิดีโอสื่อความรู้มรดกวัฒนธรรม ตอนที่ 3 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ขอร่วมสร้าง “The Power of Museum” โดยเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม วันนี้ขอเสนอตอนที่ 3 ชื่อว่า “มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” https://www.youtube.com/watch?v=xjDxOHzc6vQ&list=PLLA0DiKmhv8yDq53YOU98jeqtr4KZG5sq&index=5

ภาษาวานร: จากเสียงถึงการสนทนา

ในขณะที่การศึกษาเกี่ยวกับ วานรใหญ่ไร้หาง ( Great Apes) เช่น ชิมแปนซี โบโนโบ กอริลลา และอุรังอุตัง ได้รับความสนใจในวงกว้าง เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีความ “ใกล้ชิด” กับมนุษย์ นักวิชาการอีกกลุ่มหนึ่งสนใจศึกษาและทำความเข้าใจวานร กลุ่ม “เอปเล็ก”...

พิมพ์ทำขนม

ทะเบียนวัตถุ: มธ. 1672/ 2535   ชื่อวัตถุ: พิมพ์ทำขนม   อายุ: พุทธศตวรรษที่ 25   ศิลปะ:-   วัสดุ:ไม้  ขนาด: กว้าง 12.6 เซนติเมตร, ยาว 32.7 เซนติเมตร, หนา 4.7 เซนติเมตร สภาพ: ชำรุด พิมพ์แตก ลักษณะ: พิมพ์ทำขนม (ชาวจีน) อาจจะเป็นพิมพ์ขนมอั่งถ่อก้วย ก็เป็นได้ “อั่งถ่อก้วย” เป็นภาษาจีนแต้จิ๋ว อั่ง...

หนังสือประกอบการสัมมนา “แสง สิ่งของและการมองเห็น : ภาพถ่าย สิ่งของจากภาคสนามและการทำความเข้าใจคนอื่น” Light, Objects and Visualisation :...

สามารถดาวน์โหลดหนังสือประกอบการสัมมนา“แสง สิ่งของและการมองเห็น : ภาพถ่าย สิ่งของจากภาคสนามและการทำความเข้าใจคนอื่น” Light, Objects and Visualisation : Prospecting Photographs and Objects from Fieldworks and Attempting to Understand Others. ได้ตามลิงค์ด้านล่าง Book-Light-e-Book

อคติทางเพศในการทำความเข้าใจวานรและมนุษย์

มีข้อสังเกตว่า เมื่อมนุษย์ทำความเข้าใจวานร มีความโน้มเอียงที่จะมอง และสร้างความรู้เกี่ยวกับสังคมวานรผ่านมุมมองที่มีเพศชายเป็นศูนย์กลาง (Androcentrism) โดยอาศัยฐานความคิดเรื่องเพศของโลกตะวันตกเป็นเกณฑ์ วานรวิทยา (Primatology) จึงพัวพันอยู่กับ “อคติของเพศชาย”  แม้จะมีสปีชีส์อยู่มากกว่า 200 สายพันธุ์ แต่นักไพรเมตศึกษาอาศัยความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของลิงบาบูนในทุ่งหญ้าสะวันนาของแอฟริกาเป็นรูปแบบหลักในการอธิบายแบบแผนวิวัฒนาการของทั้งวานรและมนุษย์...

Le Petit Prince: Books, Collections and Cross-Cultural Dialogues.

77 Years of The Little Prince (1943-2020) The Little Prince has been translated into more than 380 languages amongst 62 countries, making this novella (short...