วานรวิทยาและการศึกษาไพรเมต: ผู้ชายทำความเข้าใจ “ซาก” ผู้หญิงทำความเข้าใจ “ชีวิต” ?
Louis Leakey พ.ศ. 2446-2515
จุดเปลี่ยนสำคัญของวงการวานรวิทยาและไพรเมตศึกษาที่สร้าง ความสนใจให้กับสาธารณชนในวงกว้าง กล่าวได้ว่ามาจากผู้ชาย คนหนึ่ง คือ ดร.หลุยส์ ลีคกี (Louis Leakey พ.ศ....
ชวนอ่านบทความเรื่อง: วัตถุพิพิธภัณฑ์และการส่งเสริม สุขภาวะ: โครงการนำร่อง เพื่อผู้สูงอายุ ณ พิพิธภัณฑ์ ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
ดาว์โหลดที่นี้: วัตถุพิพิธภัณฑ์และการส่งเสริม สุขภาวะ: โครงการนำร่อง เพื่อผู้สูงอายุ ณ พิพิธภัณฑ์ ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
บ้านเชียง ปฐมบทโบราณคดีไทย
เหตุการณ์บ้านเชียง
ชุมชนที่อาศัยอยู่ที่ ต.บ้านเชียง อ.หนองหานจ.อุดรธานี พบว่าใต้พื้นดินในหมู่บ้านมีโครงกระดูกมนุษย์โบราณฝังร่วมกับวัตถุมากมายโดยเฉพาะภาชนะเขียนลายสีแดงสวยงามแปลกตา ใบที่สมบูรณ์ถูกนํามาใช้ประโยชน์ ใน พ.ศ.2503 โรงเรียนบ้านเชียงจัดห้องพิพิธภัณฑ์เพื่อรวบรวมวัตถุที่พบในหมู่บ้าน เมื่อมีเจ้าหน้าที่มาตรวจโรงเรียนก็มักจะมอบภาชนะเขียนลายให้เพื่อหวังให้มีคนสนใจ พ.ศ. 2508 ภาชนะเขียนลายสีแดงใบสุดท้ายของโรงเรียนมอบให้กับเจ้าหน้าที่จังหวัด และถูกส่งต่อไปยังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร
พ.ศ. 2510 การศึกษาโบราณคดีบ้านเชียง เริ่มต้นขึ้นอย่างจริงจังโดยกรมศิลปากรและสถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
พ.ศ. 2515 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถเสด็จพระราชดําเนินทอดพระเนตรการขุดค้นของกรมศิลปากร
พ.ศ. 2516 นายสตีเฟน ยัง นักศึกษาสังคมวิทยาเดินทางไปที่บ้านเชียงให้ความสนใจภาชนะเขียนลายสีแดงเป็นอย่างมาก
หม้อเขียนลาย
งานสํารวจขุดค้นทางโบราณคดีที่บ้านเชียง เริ่มขึ้นราว พ.ศ....
ขอเชิญร่วมงานสัมมนา ครั้งที่ 3 ข้อถกเถียงในมรดกวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Current Issues in Cultural Heritage of Southeast...
UPCOMING 3rd WEBINAR
AUGUST 31st, 2021, 5-7 pm. (Bangkok, GMT+7)
Current Issues in Cultural Heritage of Southeast Asia:
CONFLICTS AND HERITAGE POLITICS
Speakers วิทยากร
อาจารย์อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล Udomluck Hoontrakul
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา...
ภาพถ่ายและจดหมายเหตุ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา: รองศาสตราจารย์สุมิตร ปิติพัฒน์ (19 พฤษภาคม 2486-11 สิงหาคม 2567)
รองศาสตราจารย์สุมิตร ปิติพัฒน์ อดีตรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตคณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2531-2534) และ อดีตผู้อำนวยการสถาบันไทยคคีศึกษา (พ.ศ. 2536-2542)
รองศาสตราจารย์สุมิตรจบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาสังคมศาสตร์ จาก Michigan State University และสาขามานุษยวิทยา จาก Harvard University สหรัฐอเมริกา ท่านเป็นบุคลากรที่มีบทบาทและคุณูประการอย่างสำคัญต่อคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์...
วิดีโอสื่อความรู้มรดกวัฒนธรรม ตอนที่ 4 มรดกวัฒนธรรมไม่ลงรอย
พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ขอร่วมสร้าง “The Power of Museum” โดยเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม วันนี้ขอเสนอตอนที่ 4 ชื่อว่า “ มรดกวัฒนธรรมไม่ลงรอย”
https://www.youtube.com/watch?v=RqpGSfBMg1A
สุมิตร ปิติพัฒน์ (2486-2567) การส่งต่อและสืบทอด “มรดกวัฒนธรรม”
รองศาสตราจารย์ สุมิตร ปิติพัฒน์ 19 พฤษภาคม 2486-11 สิงหาคม 2567
กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ พ.ศ. 2508
รองศาสตราจารย์สุมิตร ปิติพัฒน์ อดีตรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตคณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2531-2534) อดีตผู้อำนวยการสถาบันไทยคคีศึกษา (พ.ศ. 2536-2542) และเป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิม พระเกียรติ (พ.ศ.2530)
รองศาสตราจารย์สุมิตรจบการศึกษาระดับปริญญาโท...