ความรู้

เครื่องเขิน: หัตถศิลป์แห่งภูมิปัญญา

“เครื่องเขิน” งานหัตถศิลป์ของชาวล้านนา รับอิทธิพลมาจากไทเขิน ได้บ่งบอกถึงภูมิปัญญาของผู้คนในการเลือกรับปรับแต่งวัสดุพื้นถิ่น ให้เป็นสิ่งของเครื่องใช้ที่วิจิตรงดงาม และทรงคุณค่า ความเป็นมา           เครื่องเขิน คือหนึ่งในงานหัตถกรรมที่แพร่หลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือเอเชียอาคเนย์ ในอดีตเครื่องเขินมีสถานภาพเป็นทั้งของใช้ในครัวเรือน เครื่องใช้ในพิธีกรรม ตลอดจนรูปเคารพและงานศิลปกรรม เครื่องเขินมีโครงสร้างจากไม้และที่นิยมมากที่สุดคือ โครงสร้างจากไม้ไผ่ ซึ่งช่วยให้ของใช้นั้นมีน้ำหนักเบา หลักการของเครื่องเขินคือนำเครื่องจักสานมาเคลือบด้วยยางไม้ชนิดหนึ่งที่มีสีดำ ซึ่งเรียกกันว่า ยางรัก ภาชนะใช้สอยเมื่อเคลือบยางรักและตกแต่งผิวให้สวยงามด้วยวิธีการต่างๆ เสร็จแล้วจึงเรียกว่า เครื่องเขิน           ความเป็นมาของ “เครื่องเขิน” สืบจากหลักฐานในประเทศจีนที่พบว่ามีภาชนะเครื่องรักมากว่า 4,000 ปีแล้ว...

หนังสือ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ: บทเรียนจากเพื่อนบ้าน

หนังสือ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ: บทเรียนจากเพื่อนบ้าน Heritage of the Nations : lessons learned from the neighboring countries) จัดพิมพ์ขึ้นโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ หนังสือ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ: บทเรียนจากเพื่อนบ้าน (Heritage of the Nations...

วานร ถึง มนุษย์ จากลูซี ถึง ปรีดี พนมยงค์

ลูซี: ระหว่างเส้นทางจากวานรสู่มนุษย์  ก่อนหน้านั้นเพียงสองปี (พ.ศ.2517) ที่บริเวณแหล่งขุดค้นฮาดาร์ (Hadar) ประเทศเอธิโอเปีย ทวีปแอฟริกา นักบรรพชีวินวิทยา นำโดย โดนัลด์ โจฮันสัน (Donald Johanson)...

พิมพ์ทำขนม

ทะเบียนวัตถุ: มธ. 1672/ 2535   ชื่อวัตถุ: พิมพ์ทำขนม   อายุ: พุทธศตวรรษที่ 25   ศิลปะ:-   วัสดุ:ไม้  ขนาด: กว้าง 12.6 เซนติเมตร, ยาว 32.7 เซนติเมตร, หนา 4.7 เซนติเมตร สภาพ: ชำรุด พิมพ์แตก ลักษณะ: พิมพ์ทำขนม (ชาวจีน) อาจจะเป็นพิมพ์ขนมอั่งถ่อก้วย ก็เป็นได้ “อั่งถ่อก้วย” เป็นภาษาจีนแต้จิ๋ว อั่ง...

30 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

ดาวน์โหลด อนาคตของพิพิธภัณฑ์ ในเงาของอดีตโดย ศิริพร ศรีสินธุ์อุไร ของสะสม:การหวนพิจารณาใหม่ของชุดสะสมภายใต้บริบทของอาณานิคมโดย อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล ของหรู ของหายากจากบนยอดดอยโดย พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ ข้าวของ เครื่องใช้ ครัวและตัวตนของผู้หญิง:ภาพร่างประวัติศาสตร์จาก ‘สิ่งของ’ในพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติโดย ชนิดา ชิตบัณฑิตย์ เมื่อของเล่นพื้นบ้านลูกหวายกลายเป็นกีฬาสมัยใหม่ลูกพลาสติกโดย อาจินต์ ทองอยู่คง ปั้นดินให้เป็นดาวโดย พจนก กาญจนจันทร กินพลู เชี่ยนหมาก ปากแดงโดย พจนก กาญจนจันทร แมว กระต่าย และต้นไม้แห่งชีวิตโดย พจนก กาญจนจันทร

สารคดี “มรดกวัฒนธรรมเชิงช่างเมืองเพชร”

จาก นิทรรศการ สู่สารคดี “มรดกวัฒนธรรมเชิงช่างเมืองเพชร”ร่วมหาคำตอบมรดกวัฒนธรรมเชิงช่างเมืองเพชรคืออะไร ? https://www.youtube.com/watch?v=X7bgoPD7wLc

อคติทางเพศในการทำความเข้าใจวานรและมนุษย์

มีข้อสังเกตว่า เมื่อมนุษย์ทำความเข้าใจวานร มีความโน้มเอียงที่จะมอง และสร้างความรู้เกี่ยวกับสังคมวานรผ่านมุมมองที่มีเพศชายเป็นศูนย์กลาง (Androcentrism) โดยอาศัยฐานความคิดเรื่องเพศของโลกตะวันตกเป็นเกณฑ์ วานรวิทยา (Primatology) จึงพัวพันอยู่กับ “อคติของเพศชาย”  แม้จะมีสปีชีส์อยู่มากกว่า 200 สายพันธุ์ แต่นักไพรเมตศึกษาอาศัยความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของลิงบาบูนในทุ่งหญ้าสะวันนาของแอฟริกาเป็นรูปแบบหลักในการอธิบายแบบแผนวิวัฒนาการของทั้งวานรและมนุษย์...

ชีวิตในจิตรกรรมฝาผนัง: จากคลังภาพจิตรกรรมฝาผนัง: อู่ทอง ประศาสน์วินิจฉัย

เนื้อหา สงกรานต์ไทย: มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ

ขอเชิญรับชมคลิปวิดีโอ การประชุมวิชาการฯ วันที่ 5 กันยายน 2567

ขอเชิญรับชมคลิปวิดีโอ การประชุมวิชาการฯ วันที่ 5 กันยายน 2567 การประชุมวิชาการระดับชาติ พิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 3 "ส่อง-สะท้อน-สลายการรวมศูนย์ ในงานพิพิธภัณฑ์ มรดกวัฒนธรรม และโบราณคดี" การบรรยายนิทรรศการ สุมิตร...