วานร ถึง มนุษย์ จากลูซี ถึง ปรีดี พนมยงค์
ลูซี: ระหว่างเส้นทางจากวานรสู่มนุษย์
ก่อนหน้านั้นเพียงสองปี (พ.ศ.2517) ที่บริเวณแหล่งขุดค้นฮาดาร์ (Hadar) ประเทศเอธิโอเปีย ทวีปแอฟริกา นักบรรพชีวินวิทยา นำโดย โดนัลด์ โจฮันสัน (Donald Johanson)...
ฃุนน้อย : เจ้าชายน้อย ฉบับภาษาถิ่นสุโขทัย-ลายสือไท
เจ้าชายน้อย และ ฃุนน้อย
หนังสือ “เจ้าชายน้อย” ( Le Petit...
วานรวิทยาและการศึกษาไพรเมต: ผู้ชายทำความเข้าใจ “ซาก” ผู้หญิงทำความเข้าใจ “ชีวิต” ?
Louis Leakey พ.ศ. 2446-2515
จุดเปลี่ยนสำคัญของวงการวานรวิทยาและไพรเมตศึกษาที่สร้าง ความสนใจให้กับสาธารณชนในวงกว้าง กล่าวได้ว่ามาจากผู้ชาย คนหนึ่ง คือ ดร.หลุยส์ ลีคกี (Louis Leakey พ.ศ....
หนังสือประกอบการสัมมนา “แสง สิ่งของและการมองเห็น : ภาพถ่าย สิ่งของจากภาคสนามและการทำความเข้าใจคนอื่น” Light, Objects and Visualisation :...
สามารถดาวน์โหลดหนังสือประกอบการสัมมนา“แสง สิ่งของและการมองเห็น : ภาพถ่าย สิ่งของจากภาคสนามและการทำความเข้าใจคนอื่น” Light, Objects and Visualisation : Prospecting Photographs and Objects from Fieldworks and Attempting to Understand Others.
ได้ตามลิงค์ด้านล่าง
Book-Light-e-Book
เครื่องเขิน: หัตถศิลป์แห่งภูมิปัญญา
“เครื่องเขิน” งานหัตถศิลป์ของชาวล้านนา รับอิทธิพลมาจากไทเขิน ได้บ่งบอกถึงภูมิปัญญาของผู้คนในการเลือกรับปรับแต่งวัสดุพื้นถิ่น ให้เป็นสิ่งของเครื่องใช้ที่วิจิตรงดงาม และทรงคุณค่า
ความเป็นมา
เครื่องเขิน คือหนึ่งในงานหัตถกรรมที่แพร่หลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือเอเชียอาคเนย์ ในอดีตเครื่องเขินมีสถานภาพเป็นทั้งของใช้ในครัวเรือน เครื่องใช้ในพิธีกรรม ตลอดจนรูปเคารพและงานศิลปกรรม เครื่องเขินมีโครงสร้างจากไม้และที่นิยมมากที่สุดคือ โครงสร้างจากไม้ไผ่ ซึ่งช่วยให้ของใช้นั้นมีน้ำหนักเบา หลักการของเครื่องเขินคือนำเครื่องจักสานมาเคลือบด้วยยางไม้ชนิดหนึ่งที่มีสีดำ ซึ่งเรียกกันว่า ยางรัก ภาชนะใช้สอยเมื่อเคลือบยางรักและตกแต่งผิวให้สวยงามด้วยวิธีการต่างๆ เสร็จแล้วจึงเรียกว่า เครื่องเขิน
ความเป็นมาของ “เครื่องเขิน” สืบจากหลักฐานในประเทศจีนที่พบว่ามีภาชนะเครื่องรักมากว่า 4,000 ปีแล้ว...
ชีวิตในจิตรกรรมฝาผนัง: จากคลังภาพจิตรกรรมฝาผนัง: อู่ทอง ประศาสน์วินิจฉัย
เนื้อหา
สงกรานต์ไทย: มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ
หนังสือประกอบนิทรรศการ Primates and me
ปก/คำนำ/สารบัญ อ่าน
ภาคแรก: วานรและไพรเมต /วานรถึงมนุษย์ : รอยเท้าแรกของบรรพชน /วานรถึงมนุษย์ จากลูซี ถึงปรีดี พนมยงค์ อ่าน
ภาคสอง: วานรวิทยาและการศึกษาไพรเมต ผู้ชายทำความเข้าใจซาก ผู้หญิงทำความเข้าใจ...
คนกับของ
เกรียงไกร-หน้ากาล
อ.ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
วัตถุ: หน้ากาล มธ.323.2535
“หน้ากาล” หรือ “เกียรติมุข” เป็นประติมานวิทยาที่นิยมนำมาตกแต่งศาสนาสถานทั้งในฮินดูและพุทธศาสนา ทว่าหน้ากาลที่เก็บรักษาในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ คือ หน้ากาลที่เคยตกแต่งบนองค์เจดีย์พุทธศาสนา ซึ่งมีความหมายว่า ...กาลเวลาเป็นสิ่งหนึ่งที่เฝ้ากลืนกินสรรพสิ่ง แม้กระทั่งตัวมันเอง และเป็นสัจจะนิรันดร์...ทว่าหน้ากาลชิ้นนี้ได้นำมาเก็บรักษาในพิพิธภัณฑ์ที่มีเป้าหมายในการยื้อยุดมิให้กาลเวลาทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ด้วยเป้าหมายของการเป็น “วัตถุทางวัฒนธรรม” สำหรับการเรียนรู้ ...ด้วนสถานะนี้ หน้ากาลชิ้นนี้ จึงมีความหมายที่ย้อนแย้ง ด้วยกำลังถูกยื้อยุดมิให้เปลี่ยนแปลงภายใต้ความหมาย และภายใน...