ความรู้

สุมิตร ปิติพัฒน์ (2486-2567) การส่งต่อและสืบทอด “มรดกวัฒนธรรม”

รองศาสตราจารย์ สุมิตร ปิติพัฒน์ 19 พฤษภาคม 2486-11 สิงหาคม 2567 กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ พ.ศ. 2508 รองศาสตราจารย์สุมิตร ปิติพัฒน์ อดีตรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตคณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2531-2534) อดีตผู้อำนวยการสถาบันไทยคคีศึกษา (พ.ศ. 2536-2542) และเป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิม พระเกียรติ (พ.ศ.2530) รองศาสตราจารย์สุมิตรจบการศึกษาระดับปริญญาโท...

ชีวประวัติของทุ่งรังสิต: จากสมัน นาข้าว สาวโรงงาน ถึงนักศึกษาและเหี้ย

ใช่ว่าจะมีแต่มนุษย์เท่านั้น ที่มีอัตชีวประวัติ สถานที่ก็เช่นกัน สถานที่แต่ละแห่งมีชีวประวัติเป็นของตนเอง        ในขณะที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งประกาศตนเป็น มหาวิทยาลัยของประชาชน เป็นมหาวิทยาลัยที่มีเสรีภาพทุก ตารางนิ้ว ซึ่งกำลังจะมีอายุครบ 80 ปี ใน พ.ศ 2557 นี้ “ทุ่งหลวงหรือทุ่งรังสิต” ก็มีชีวประวัติเป็นของตนเอง เป็นชีวประวัติที่เกี่ยวพันอย่างสำคัญ กับความเปลี่ยนแปลงของกายภาพของที่ราบภาคกลาง และผูกพันอย่างแนบแน่นกับความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของสังคมไทย โดยได้ผนวกรวมเอาชีวิต ส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งใน ชีวประวัติอันซับซ้อนนั้น ...

ธรรมาสน์วัดท่าศาลาราม อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี ในพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

ธรรมาสน์วัดท่าศาลาราม อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี ก่อนและหลังการอนุรักษ์ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2560 พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติได้รับมอบธรรมาสน์ไม้ จากวัดท่าศาลาราม อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี โดยได้รับความเห็นชอบจากพระครูพัชรกิจสุนทร (ประหยัด อภิสมาจาโร) เจ้าอาวาสวัดท่าศาลาราม ร่วมกับกรรมการวัดและชาวบ้านผู้เป็นศรัทธาวัด โดยการประสานของนายชนัญญ์ เมฆหมอก ศิษย์เก่าคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ในขณะนั้นเป็นอาจารย์ประจำสาขาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี) ซึ่งเป็นผู้พบธรรมาสน์...

วิธีวิทยาของการศึกษาวานร

ครอบครัวชะนีในอุทยานเขาใหญ่ จากการทำงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง โดยทีมนักวิจัยชะนีของมหาวิทยาลัยมหิดลและศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทำให้มีการตั้งชื่อให้กับชะนีแต่ละตัว โดยแต่ละตัวจะได้รับการตั้งชื่อโดยนักวิจัยที่พบชะนีตัวนั้นเป็นคนแรก ชื่อชะนีจึงมีทั้งภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่นและไทย จากการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบทำให้สามารถระบุได้ว่าชะนีแต่ละตัวเป็นสมาชิกของครอบครัว (group) ใด  ที่มา : ดร.จันทร์เพ็ญ ศรลัมพ์ “บันทึกชีวิตชะนีใน 1...

นิทรรศการออนไลน์ Primates and Me: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์

ส่อง “กระจกสะท้อนที่ไม่คลุมเครือ” ฝ่าอคติม่านหมอกที่เคยหลงเชื่อกันว่า “วัฒนธรรม” คือคุณสมบัติจำเพาะ เพียงอย่างเดียวของมนุษย์ ที่ทำให้พวกเรา ต่างจาก วานร สัตว์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ

ฃุนน้อย : เจ้าชายน้อย ฉบับภาษาถิ่นสุโขทัย-ลายสือไท

หนังสือ “ฃุนน้อย” ฉบับ ลายสือไทและภาษาถิ่นสุโขทัย ฉบับนี้ เป็นผลงานสืบเนื่องจากนิทรรศการ “เจ้าชายน้อย : หนังสือ ของสะสมและการสนทนาข้ามวัฒนธรรม” ซึ่งจัดขึ้นโดยพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ และคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในปี พ.ศ.2563 หนังสือ “ฃุนน้อย” ฉบับนี้แปลขึ้นใหม่เป็นภาษาท้องถิ่นสุโขทัยและถ่ายถอดคำแปลด้วยอักษร “ลายสือไท สมัยสุโขทัย”  ในการแปลอาศัยต้นฉบับ...

หนังสือประกอบนิทรรศการ Primates and me

ปก/คำนำ/สารบัญ อ่าน ภาคแรก: วานรและไพรเมต /วานรถึงมนุษย์ : รอยเท้าแรกของบรรพชน /วานรถึงมนุษย์ จากลูซี ถึงปรีดี พนมยงค์ อ่าน ภาคสอง: วานรวิทยาและการศึกษาไพรเมต ผู้ชายทำความเข้าใจซาก ผู้หญิงทำความเข้าใจ...

วานรวิทยาและการศึกษาไพรเมต: ผู้ชายทำความเข้าใจ “ซาก” ผู้หญิงทำความเข้าใจ “ชีวิต” ?

Louis Leakey พ.ศ. 2446-2515 จุดเปลี่ยนสำคัญของวงการวานรวิทยาและไพรเมตศึกษาที่สร้าง ความสนใจให้กับสาธารณชนในวงกว้าง กล่าวได้ว่ามาจากผู้ชาย คนหนึ่ง คือ ดร.หลุยส์ ลีคกี (Louis Leakey พ.ศ....

หนังสือประกอบนิทรรศการ“คลื่นไหวภายใต้โดม การเป็นส่วนหนึ่งและการเคลื่อนย้ายในวัฒนธรรมมุสลิม”

สามารถดาวน์โหลดหนังสือประกอบนิทรรศการ “คลื่นไหวภายใต้โดม การเป็นส่วนหนึ่งและการเคลื่อนย้ายในวัฒนธรรมมุสลิม” ได้ตามลิงค์ด้านล่าง หนังสือประกอบนิทรรศการ“คลื่นไหวภายใต้โดม

คนกับของ

เกรียงไกร-หน้ากาล อ.ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วัตถุ: หน้ากาล มธ.323.2535 “หน้ากาล” หรือ “เกียรติมุข” เป็นประติมานวิทยาที่นิยมนำมาตกแต่งศาสนาสถานทั้งในฮินดูและพุทธศาสนา ทว่าหน้ากาลที่เก็บรักษาในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ คือ หน้ากาลที่เคยตกแต่งบนองค์เจดีย์พุทธศาสนา ซึ่งมีความหมายว่า ...กาลเวลาเป็นสิ่งหนึ่งที่เฝ้ากลืนกินสรรพสิ่ง แม้กระทั่งตัวมันเอง และเป็นสัจจะนิรันดร์...ทว่าหน้ากาลชิ้นนี้ได้นำมาเก็บรักษาในพิพิธภัณฑ์ที่มีเป้าหมายในการยื้อยุดมิให้กาลเวลาทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ด้วยเป้าหมายของการเป็น “วัตถุทางวัฒนธรรม” สำหรับการเรียนรู้ ...ด้วนสถานะนี้ หน้ากาลชิ้นนี้ จึงมีความหมายที่ย้อนแย้ง ด้วยกำลังถูกยื้อยุดมิให้เปลี่ยนแปลงภายใต้ความหมาย และภายใน...