ความรู้

แสง สิ่งของ และการมองเห็น

โดยพื้นฐานแล้ว มนุษย์รับรู้และทำความเข้าโลกโดยผ่านดวงตา “การมองเห็นมาก่อนถ้อยคำ เด็กๆ มองเห็นและจดจำ ก่อนที่จะพูด (Seeing comes before words. The child looks and recognizes before it can speak. John Berger. Way of seeing...

ธรรมาสน์วัดท่าศาลาราม อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี ในพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

ธรรมาสน์วัดท่าศาลาราม อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี ก่อนและหลังการอนุรักษ์ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2560 พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติได้รับมอบธรรมาสน์ไม้ จากวัดท่าศาลาราม อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี โดยได้รับความเห็นชอบจากพระครูพัชรกิจสุนทร (ประหยัด อภิสมาจาโร) เจ้าอาวาสวัดท่าศาลาราม ร่วมกับกรรมการวัดและชาวบ้านผู้เป็นศรัทธาวัด โดยการประสานของนายชนัญญ์ เมฆหมอก ศิษย์เก่าคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ในขณะนั้นเป็นอาจารย์ประจำสาขาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี) ซึ่งเป็นผู้พบธรรมาสน์...

บ้านเชียง ปฐมบทโบราณคดีไทย

ดาวน์โหลด บ้านเชียง: ปฐมบทโบราณคดีไทย

มรดกวัฒนธรรมเชิงช่างเมืองเพชร

วัตถุจัดแสดง สมุดภาพตำราลายไทย

เตียบ

ทะเบียนวัตถุ:  มธ. 1320/ 2535  ชื่อวัตถุ: เตียบ  อายุ: พุทธศตวรรษที่ 25  ศิลปะ: ล้านนา  วัสดุ: ไม้, รัก, ชาด  ขนาด: สูงรวมฝา 59 เซนติเมตร, ลำตัวสูง 23.3 เซนติเมตร, เส้นผ่านศูนย์กลางปาก 29.7 เซนติเมตร, เส้นผ่านศูนย์กลางฐาน 31.3 เซนติเมตร สภาพ: ชำรุดเล็กน้อย...

คน ข้าว นา ควาย ในวัฒธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ดาวน์โหลด ข้าวและชาวนาไทย ในกระแสการเปลี่ยนแปลง โดย อ.ดร.ชลิตา บัณฑุวงศ์ จากนักล่ามาเป็นชาวนา จากข้าวป่ามาเป็นข้าวปลูก โดย ผศ.ดร.พจนก กาญจนจันทร การบรรยาย “นาและข้าวในสำนึกชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” และ “วิถีข้าว วิถีชีวิตในการบูรณาการทางสังคมไท” โดย ผศ.ดร. ยุกติ มุกดาวิจิตร และ ผศ.ดร. พิเชฐ สายพันธ์

30 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

ดาวน์โหลด อนาคตของพิพิธภัณฑ์ ในเงาของอดีตโดย ศิริพร ศรีสินธุ์อุไร ของสะสม:การหวนพิจารณาใหม่ของชุดสะสมภายใต้บริบทของอาณานิคมโดย อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล ของหรู ของหายากจากบนยอดดอยโดย พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ ข้าวของ เครื่องใช้ ครัวและตัวตนของผู้หญิง:ภาพร่างประวัติศาสตร์จาก ‘สิ่งของ’ในพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติโดย ชนิดา ชิตบัณฑิตย์ เมื่อของเล่นพื้นบ้านลูกหวายกลายเป็นกีฬาสมัยใหม่ลูกพลาสติกโดย อาจินต์ ทองอยู่คง ปั้นดินให้เป็นดาวโดย พจนก กาญจนจันทร กินพลู เชี่ยนหมาก ปากแดงโดย พจนก กาญจนจันทร แมว กระต่าย และต้นไม้แห่งชีวิตโดย พจนก กาญจนจันทร

นิทรรศการออนไลน์ Primates and Me: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์

ส่อง “กระจกสะท้อนที่ไม่คลุมเครือ” ฝ่าอคติม่านหมอกที่เคยหลงเชื่อกันว่า “วัฒนธรรม” คือคุณสมบัติจำเพาะ เพียงอย่างเดียวของมนุษย์ ที่ทำให้พวกเรา ต่างจาก วานร สัตว์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ

ชวนอ่าน…หนังสือรวมบทความพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม

บทบรรณาธิการ แนะนำผู้เขียน สารบัญ อ่านได้ที่ (1) แนวทางการจัดเก็บและจัดแสดงวัตถุพิพิธภัณฑ์  ประเภทเครื่องจักสานในประเทศไทย (ปัฐยารัช ธรรมวงษา) อ่านได้ที่  (2) การอนุรักษ์เชิงป้องกันกับงานพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ในประเทศไทย: นิยามและความตระหนักรู้ (บุรินทร์ สิงโตอาจ) อ่านได้ที่

วานร ถึง มนุษย์ จากลูซี ถึง ปรีดี พนมยงค์

ลูซี: ระหว่างเส้นทางจากวานรสู่มนุษย์  ก่อนหน้านั้นเพียงสองปี (พ.ศ.2517) ที่บริเวณแหล่งขุดค้นฮาดาร์ (Hadar) ประเทศเอธิโอเปีย ทวีปแอฟริกา นักบรรพชีวินวิทยา นำโดย โดนัลด์ โจฮันสัน (Donald Johanson)...