ความรู้

ชวนอ่าน…หนังสือรวมบทความพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม

บทบรรณาธิการ แนะนำผู้เขียน สารบัญ อ่านได้ที่ (1) แนวทางการจัดเก็บและจัดแสดงวัตถุพิพิธภัณฑ์  ประเภทเครื่องจักสานในประเทศไทย (ปัฐยารัช ธรรมวงษา) อ่านได้ที่  (2) การอนุรักษ์เชิงป้องกันกับงานพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ในประเทศไทย: นิยามและความตระหนักรู้ (บุรินทร์ สิงโตอาจ) อ่านได้ที่

สารคดี Primates and Me: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์

นิทรรศการ Primates and Me: เรื่องของคุณ เรื่องของฉัน และเรื่องราวของพวกเรา Primates and Me: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์ คือ ความพยายามที่จะส่อง "กระจกสะท้อนที่ไม่คลุมเครือ" ฝ่าอคติม่านหมอกที่เคยหลงเชื่อกันว่า "วัฒนธรรม" คือคุณสมบัติจำเพาะเพียงอย่างเดียวของมนุษย์ ที่ทำให้พวกเราต่างจากวานร...

หนังสือ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ: บทเรียนจากเพื่อนบ้าน

หนังสือ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ: บทเรียนจากเพื่อนบ้าน Heritage of the Nations : lessons learned from the neighboring countries) จัดพิมพ์ขึ้นโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ หนังสือ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ: บทเรียนจากเพื่อนบ้าน (Heritage of the Nations...

“วัฒนธรรม” ของวานร

ในกระบวนการวิวัฒนาการ กลุ่มไพรเมตมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ สมองไพรเมตในส่วนที่ควบคุมการมองเห็นมีความซับซ้อนและหลากมิติมากขึ้น ในขณะที่สมองของการควบคุมการได้กลิ่นลดลง ตาทั้งสองข้างมองเห็นภาพที่มีความคมชัดขึ้นในกรอบที่กว้างกว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ทำให้ “การมอง” มีบทบาทสำคัญเพิ่มมากขึ้นต่อการเรียนรู้ มีการศึกษาว่าลีเมอร์ (Lemur)   ซึ่งอยู่ในกลุ่มโพรซิเมียน (Prosimian)  ลูกจะเรียนรู้แบบแผนพฤติกรรมจากแม่ โดยลูกมักจะให้ความสนใจสังเกตพฤติกรรมแม่ มากกว่าที่แม่จะสนใจมองลูก หรือ...

25 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

ดาวน์โหลดหนังสือ 25 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530 – พ.ศ.2555

หนังสือประกอบการสัมมนา “แสง สิ่งของและการมองเห็น : ภาพถ่าย สิ่งของจากภาคสนามและการทำความเข้าใจคนอื่น” Light, Objects and Visualisation :...

สามารถดาวน์โหลดหนังสือประกอบการสัมมนา“แสง สิ่งของและการมองเห็น : ภาพถ่าย สิ่งของจากภาคสนามและการทำความเข้าใจคนอื่น” Light, Objects and Visualisation : Prospecting Photographs and Objects from Fieldworks and Attempting to Understand Others. ได้ตามลิงค์ด้านล่าง Book-Light-e-Book

อคติทางเพศในการทำความเข้าใจวานรและมนุษย์

มีข้อสังเกตว่า เมื่อมนุษย์ทำความเข้าใจวานร มีความโน้มเอียงที่จะมอง และสร้างความรู้เกี่ยวกับสังคมวานรผ่านมุมมองที่มีเพศชายเป็นศูนย์กลาง (Androcentrism) โดยอาศัยฐานความคิดเรื่องเพศของโลกตะวันตกเป็นเกณฑ์ วานรวิทยา (Primatology) จึงพัวพันอยู่กับ “อคติของเพศชาย”  แม้จะมีสปีชีส์อยู่มากกว่า 200 สายพันธุ์ แต่นักไพรเมตศึกษาอาศัยความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของลิงบาบูนในทุ่งหญ้าสะวันนาของแอฟริกาเป็นรูปแบบหลักในการอธิบายแบบแผนวิวัฒนาการของทั้งวานรและมนุษย์...

วิดีโอสื่อความรู้มรดกวัฒนธรรม ตอนที่ 3 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ขอร่วมสร้าง “The Power of Museum” โดยเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม วันนี้ขอเสนอตอนที่ 3 ชื่อว่า “มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” https://www.youtube.com/watch?v=xjDxOHzc6vQ&list=PLLA0DiKmhv8yDq53YOU98jeqtr4KZG5sq&index=5