ทั่วไป

ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง: อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว

วัดอนุบรรพต (เขาน้อย) ตำบลบ้านใหม่หนองไทร อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ตัวอย่างภาพจิตรกรรมฝาผนัง  วัดสันติธรรม

ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง: อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด

วัดโยธานิมิตร ตำบลบางพระ อำเภอเมือง จังหวัดตราด ตัวอย่างภาพจิตรกรรมฝาผนัง  วัดบุปผาราม

ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง: จังหวัดตราด

อำเภอเขาสมิง อำเภอคลองใหญ่ อำเภอเมืองตราด

ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง: อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด

วัดท่าโสม 58 หมู่ 1 ตำบลท่าโสม อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด ตัวอย่างภาพจิตรกรรมฝาผนัง 

Panel 4.2: ส่องบทบาท สะท้อนอำนาจในพิพิธภัณฑ์

บทบาทของพิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยในการเป็นพื้นที่เรียนรู้สำหรับคนพิการทางการเห็น  บทคัดย่อการเข้าถึงและการเรียนรู้ศิลปะร่วมสมัยสำหรับคนพิการทางการเห็นได้รับความสนใจมากขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา  พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยไม่เพียงเป็นพื้นที่แสดงศิลปะแต่ยังเป็นแหล่งเรียนรู้และสื่อสารความรู้  การสร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึงศิลปะสำหรับคนพิการทางการเห็นเป็นบทบาทสำคัญของพิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย   โดยการออกแบบนโยบายและกิจกรรม  รวมถึงการวางแนวทางให้ศิลปินสร้างสรรค์ผลงานที่ให้ผู้มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงทรัพยากรและสื่อความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม จะนำไปสู่การสร้างความเท่าเทียมและการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บทความนี้สำรวจและวิเคราะห์วิธีการที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยปรับตัวเพื่อเป็นพื้นที่เรียนรู้สำหรับ  คนพิการทางการเห็น  โดยมีกรณีศึกษาจากพิพิธภัณฑ์ศิลปะโมริ (Mori Art Museum) ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นศูนย์กลางศิลปะร่วมสมัยของญี่ปุ่นและเอเชีย  ออกแบบกิจกรรมเพื่อพัฒนาการเข้าถึงศิลปะร่วมสมัยสำหรับคนพิการทางการเห็นทั้งในรูปแบบออนไซต์และออนไลน์ และพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย MOCA มีความโดดเด่นเป็นพิพิธภัณฑ์ที่สะสมจัดแสดงศิลปะร่วมสมัยอันทรงคุณค่าของไทยบทความนี้นำเสนอแนวทางและวิธีการที่พิพิธภัณฑ์เหล่านี้ใช้ในการสร้างการเข้าถึงและการเรียนรู้ที่  เท่าเทียมสำหรับคนพิการทางการเห็น ซึ่งสามารถเป็นแนวทางให้พิพิธภัณฑ์อื่นๆ นำไปปรับใช้ในการพัฒนาพื้นที่เรียนรู้สำหรับคนพิการทางการเห็นในอนาคต คำสำคัญ  พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย, คนพิการทางการเห็นผู้เขียนทักษิณา พิพิธกุลสังกัด: คณะศิลปกรรมศาสตร์...

ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง: อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว

วัดวังน้ำเย็น หมู่ 1 ตำบลวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว ตัวอย่างภาพจิตรกรรมฝาผนัง 

ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง: อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด

วัดเกษมสีนาราม ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ตัวอย่างภาพจิตรกรรมฝาผนัง 

Panel 4.1: สะสม สื่อสาร และสร้างความหมายวัตถุพิพิธภัณฑ์

ฟื้นชีวิตพิพิธภัณฑ์กับการแสวงหาการมีส่วนร่วมของสังคม กรณีศึกษา: พิพิธภัณฑ์พระอุบาลีมหาเถระ วัดธรรมาราม พระนครศรีอยุธยา อนุสรณ์สถานประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์พุทธศาสนาไทย-ศรีลังกา บทคัดย่อพิพิธภัณฑ์ในการรับรู้ของคนทั่วไป หมายถึง สถานที่จัดเก็บและแสดงสิ่งของนานาชนิด เพื่อให้ความรู้และความเพลิดเพลินแก่ผู้เข้าชม  ช่วงเวลาศตวรรษที่ 21 สังคมไทยเกิดการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ในฐานะแหล่งเรียนรู้ที่ขยายขอบเขตการรับรู้เดิมคนในสังคม  พิพิธภัณฑ์พระอุบาลีมหาเถระ วัดธรรมาราม ถูกก่อตั้งและเปิดให้บริการในวาระครบรอบ 260 ปีประดิษฐานสยามวงศ์ การส่งคณะสมณทูตจากกรุงศรีอยุธยาไปลังกาทวีป เมื่อ พ.ศ.2556 โดยวัดเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายค่าสาธารณูปโภค ค่าเจ้าหน้าที่นำชม นับตั้งแต่เปิด จนเมื่อเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19...

test elementor

col 1 col 2