เสวนา “หนังและหนังสือ: เรื่องเล่าของการต่อต้าน”
นิทรรศการ “วัตถุพยานแห่งการต่อต้าน | Evidences of Resistance” โดย พิพิธภัณฑ์สามัญชน Museum of Popular History ร่วมกับ พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันพุธที่ 22 มีนาคม 2566เวลา 13.00-16.00 น.ขอเชิญทุกท่านร่วมรับชมภาพยนต์และเสวนาในหัวข้อ...
พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ได้รับรางวัลชนะเลิศ Museum Thailand Awards 2018 (พิพิธภัณฑ์ด้านวัฒนธรรม)
วันที่ 30 สิงหาคม 2561 พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ได้รับรางวัลชนะเลิศ Museum Thailand Awards 2018 (พิพิธภัณฑ์ด้านวัฒนธรรม) ซึ่งจัดขึ้นโดย สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรรู้แห่งชาติ (สพร.) หรือมิวเซียมสยาม โดยในงาน รองนายกรัฐมนตรี (พล.อ.อ. ประจิน จั่นตอง) เป็นประธานในพิธี
รางวัล Museum Thailand Awards 2018 ซึ่งจัดขึ้นเป็นปีที่ 2 มีเป้าหมายเพื่อการยกระดับและปรับมาตรฐานของวงการพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ของประเทศไทย ภายใต้แนวความคิดของพิพิธภัณฑ์ไทยในศตวรรษที่ 21 โดยรางวัล Museum Thailand Awards 2018 จำนวน 15 รางวัล คัดเลือกจากพิพิธภัณฑ์ แยกประเภทออกเป็น 5 ด้าน คือ
พิพิธภัณฑ์ตัวแทนด้านวัฒนธรรม
พิพิธภัณฑ์ตัวแทนทางด้านสังคม
พิพิธภัณฑ์ตัวแทนทางด้านเศรษฐกิจ
พิพิธภัณฑ์ตัวแทนทางด้านวิทยาศาสตร์
พิพิธภัณฑ์ตัวแทนทางด้านสิ่งแวดล้อม
Panel 4.2: ส่องบทบาท สะท้อนอำนาจในพิพิธภัณฑ์
บทบาทของพิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยในการเป็นพื้นที่เรียนรู้สำหรับคนพิการทางการเห็น
บทคัดย่อการเข้าถึงและการเรียนรู้ศิลปะร่วมสมัยสำหรับคนพิการทางการเห็นได้รับความสนใจมากขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยไม่เพียงเป็นพื้นที่แสดงศิลปะแต่ยังเป็นแหล่งเรียนรู้และสื่อสารความรู้ การสร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึงศิลปะสำหรับคนพิการทางการเห็นเป็นบทบาทสำคัญของพิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย โดยการออกแบบนโยบายและกิจกรรม รวมถึงการวางแนวทางให้ศิลปินสร้างสรรค์ผลงานที่ให้ผู้มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงทรัพยากรและสื่อความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม จะนำไปสู่การสร้างความเท่าเทียมและการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บทความนี้สำรวจและวิเคราะห์วิธีการที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยปรับตัวเพื่อเป็นพื้นที่เรียนรู้สำหรับ คนพิการทางการเห็น โดยมีกรณีศึกษาจากพิพิธภัณฑ์ศิลปะโมริ (Mori Art Museum) ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นศูนย์กลางศิลปะร่วมสมัยของญี่ปุ่นและเอเชีย ออกแบบกิจกรรมเพื่อพัฒนาการเข้าถึงศิลปะร่วมสมัยสำหรับคนพิการทางการเห็นทั้งในรูปแบบออนไซต์และออนไลน์ และพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย MOCA มีความโดดเด่นเป็นพิพิธภัณฑ์ที่สะสมจัดแสดงศิลปะร่วมสมัยอันทรงคุณค่าของไทยบทความนี้นำเสนอแนวทางและวิธีการที่พิพิธภัณฑ์เหล่านี้ใช้ในการสร้างการเข้าถึงและการเรียนรู้ที่ เท่าเทียมสำหรับคนพิการทางการเห็น ซึ่งสามารถเป็นแนวทางให้พิพิธภัณฑ์อื่นๆ นำไปปรับใช้ในการพัฒนาพื้นที่เรียนรู้สำหรับคนพิการทางการเห็นในอนาคต คำสำคัญ พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย, คนพิการทางการเห็นผู้เขียนทักษิณา พิพิธกุลสังกัด: คณะศิลปกรรมศาสตร์...
ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง: อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
วัดเขาน้อย
บ้านเขาน้อย หมู่ 8 ตำบลคมบาง อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
ตัวอย่างภาพจิตรกรรมฝาผนัง
ขอหยุดการให้บริการชั่วคราว ระหว่างวันที่ 16 เมษายน – 2 พฤษภาคม 2564
เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของ "ไวรัสโคโรนา 2019" (ตามประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 21 ลงวันที่ 8 เมษายน 2564 และคณะสังคมวิทยาฯ ลงวันที่ 9 เมษายน 2564) พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ขอหยุดการให้บริการชั่วคราว ระหว่างวันที่ 16 เมษายน - 2...
นิทรรศการ “ทุ่งรังสิต” จากสมัน นาข้าว สาวโรงงาน ถึงนักศึกษาและเหี้ย
นิทรรศการที่จะทำให้คุณรู้จักพื้นที่รังสิตและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (รังสิต) ดียิ่งขึ้นมาร่วมเรียนรู้และเข้าใจพื้นที่ดังกล่าว ไปพร้อมๆ กับเกมบันไดเหี้ย ได้ที่ห้องนิทรรศการหมุนเวียน อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ตั้งแต่วันนี้-25 ธันวาคม 2563 เวลา 09.30-15.30 น. ทุกวัน เว้นเสาร์-อาทิตย์และหยุดนขัตฤกษ์
สามารถดาวน์โหลดหนังสือประกอบนิทรรศการ “ทุ่งรังสิต” จากสมัน นาข้าว...
สุมิตร ปิติพัฒน์ (2486-2567) การส่งต่อและสืบทอด “มรดกวัฒนธรรม”
รองศาสตราจารย์ สุมิตร ปิติพัฒน์ 19 พฤษภาคม 2486-11 สิงหาคม 2567
กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ พ.ศ. 2508
รองศาสตราจารย์สุมิตร ปิติพัฒน์ อดีตรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตคณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2531-2534) อดีตผู้อำนวยการสถาบันไทยคคีศึกษา (พ.ศ. 2536-2542) และเป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิม พระเกียรติ (พ.ศ.2530)
รองศาสตราจารย์สุมิตรจบการศึกษาระดับปริญญาโท...
ภาพถ่ายจากการสำรวจแหล่งวัฒนธรรมและเก็บข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศเวียดนาม
กลุ่มภาพถ่ายจากการทำงานภาคสนามสำรวจศึกษาชนชาติไทในประเทศเวียดนาม ปี พ.ศ. 2542-2545
คนไทเมืองกว่า ปี 2542 ศึกษากลุ่มคนไทในตำบลมุนเซิน (เมืองกว่า) อำเภอกอนกวง (Con Cuong) จังหวัดเหง่อัน (Nghe An) ที่เดิมทีเคยเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นสิบสองจุไท มีคนไทและกลุ่มชาติพันธุ์อื่นอาศัยมาอย่างยาวนาน เมืองกว่ามีกลุ่มชาติพันธุ์ไทแถงและไทเมืองอยู่เป็นจำนวนมาก ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลพื้นฐานของเมืองกว่า...
กรกฎาคม 2564 นี้เตรียมพบกับนิทรรศการใหม่ เรื่อง Primate and me เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์
กรกฎาคม 2564 นี้เตรียมพบกับนิทรรศการใหม่ เรื่อง Primate and me เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์