ทั่วไป

ภาพและวิดีโองานสัมมนา “แสง สิ่งของและการมองเห็น : ภาพถ่าย สิ่งของจากภาคสนามและการทำความเข้าใจคนอื่น” Light, Objects and Visualisation :...

ภาพและวิดีโองานสัมมนา “แสง สิ่งของและการมองเห็น : ภาพถ่าย สิ่งของจากภาคสนามและการทำความเข้าใจคนอื่น” Light, Objects and Visualisation : Prospecting Photographs and Objects from Fieldworks and Attempting to Understand Others. วันอังคารที่ 28 สิงหาคม...

ชามเบญจรงค์

ชามเบญจรงค์ ทรงบัว ทำจากดินเผาเคลือบ สมัยรัตนโกสินทร์

ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง: อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี

วัดเขาน้อย บ้านเขาน้อย หมู่ 8 ตำบลคมบาง อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี ตัวอย่างภาพจิตรกรรมฝาผนัง 

ลอย…ลอยกระทง

ลอยกระทง เป็นประเพณีที่มีมาแต่โบราณ ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี ในศิลาจารึกสมัยสุโขทัยไม่ได้ปรากฏชื่อ “ลอยกระทง” อย่างชัดเจน แต่ในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมีชื่อ “เผาเทียน เล่นไฟ” ซึ่งมีความหมายอย่างกว้างๆ ว่า การทำ บุญไหว้พระ ส่วนเอกสารและวรรณคดีสมัยกรุง ศรีอยุธยาสมัยแรกๆ ก็มีแต่ชื่อ ชักโคม...

Panel 1: “Current issues in Archaeology & Mainland and Maritime Southeast...

ANCIENT KEDAH AS A MARITIME POLITY: SITE DISTRIBUTION AND PATTERN OF SETTLEMENT AbstractAncient Kedah was a maritime polity located at the west coast of the...

เตียบ

ทะเบียนวัตถุ:  มธ. 1320/ 2535  ชื่อวัตถุ: เตียบ  อายุ: พุทธศตวรรษที่ 25  ศิลปะ: ล้านนา  วัสดุ: ไม้, รัก, ชาด  ขนาด: สูงรวมฝา 59 เซนติเมตร, ลำตัวสูง 23.3 เซนติเมตร, เส้นผ่านศูนย์กลางปาก 29.7 เซนติเมตร, เส้นผ่านศูนย์กลางฐาน 31.3 เซนติเมตร สภาพ: ชำรุดเล็กน้อย...

ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง: อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่

วัดเจดีย์งามตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ตัวอย่างภาพจิตรกรรมฝาผนัง วัดเจดีย์งาม อ.ฝาง จ.เชียงใหม่

นิทรรศการ ฃุนน้อย : เจ้าชายน้อย ฉบับภาษาถิ่นสุโขทัย -ลายสือไท

เชิญชมนิทรรศการ ฃุนน้อย : เจ้าชายน้อย ฉบับภาษาถิ่นสุโขทัย -ลายสือไท ได้แล้ววันนี้ ที่พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ม.ธรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ลงทะเบียนเข้าชมหน้างาน และปฏิบัติตามมาตรการเว้นระยะห่างทางกาย (Physical Distancing) เพื่อป้องกันการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ดังนี้1. ตรวจวัดอุณหภูมิก่อนเข้าชมนิทรรศการ...

Panel 3: ผัสสะและจินตกรรมในพิพิธภัณฑ์

พิพิธภัณฑ์แห่งจินตภาพของงานดนตรีไทย:ผลสะท้อนทางภววิทยาและประวัติศาสตร์เพลงสยาม จากเอกสารโน้ตเพลงชุด “โหมโรงเย็น” ภายหลัง พ.ศ. 2475 บทคัดย่อ ผู้เขียนต้องนำเสนอบทความปริทัศน์ความคิด ที่ปรากฏใน "The Imaginary Museum of Musical Works" ของ Lydia Goehr ซึ่งออกเผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี 1992 ซึ่งเป็นงานเขียนทางปรัชญาที่สนใจความสำคัญของการคิดเชิงหน้าที่และบทบาทของพิพิธภัณฑ์ในสังคมร่วมสมัย ซึ่งผู้เขียนได้พิจารณาภาวะเปลี่ยนผ่านในประวัติศาสตร์ความคิดของเรื่องดังกล่าวผ่านมิติเชิงสุนทรียภาพและปรัชญาทางดนตรี จากบทบาทดั้งเดิมของพิพิธภัณฑ์ที่ปรากฏราวศตวรรษที่ 15 ในฐานะพื้นที่กายภาพสำหรับการจัดแสดงวัตถุสำคัญต่าง ๆ แนวคิดดังกล่าวมีความสำคัญเพราะเป็นส่วนกำหนดความหมายของวัตถุทางศิลปะทั่วไป...