ความรู้

วิดีโอสื่อความรู้มรดกวัฒนธรรม ตอนที่ 1 มรดกวัฒนธรรมคืออะไร

สวัสดีทุกคน...วันนี้ 18 พฤษภาคม ถือเป็น “วันพิพิธภัณฑ์สากล” (International Museum Day) และปีนี้ สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ (ICOM) เสนอให้เป็นปีของ “พลังพิพิธภัณฑ์-The Power of Museums”

วานร ถึง มนุษย์ จากลูซี ถึง ปรีดี พนมยงค์

ลูซี: ระหว่างเส้นทางจากวานรสู่มนุษย์  ก่อนหน้านั้นเพียงสองปี (พ.ศ.2517) ที่บริเวณแหล่งขุดค้นฮาดาร์ (Hadar) ประเทศเอธิโอเปีย ทวีปแอฟริกา นักบรรพชีวินวิทยา นำโดย โดนัลด์ โจฮันสัน (Donald Johanson)...

พิมพ์ทำขนม

ทะเบียนวัตถุ: มธ. 1672/ 2535   ชื่อวัตถุ: พิมพ์ทำขนม   อายุ: พุทธศตวรรษที่ 25   ศิลปะ:-   วัสดุ:ไม้  ขนาด: กว้าง 12.6 เซนติเมตร, ยาว 32.7 เซนติเมตร, หนา 4.7 เซนติเมตร สภาพ: ชำรุด พิมพ์แตก ลักษณะ: พิมพ์ทำขนม (ชาวจีน) อาจจะเป็นพิมพ์ขนมอั่งถ่อก้วย ก็เป็นได้ “อั่งถ่อก้วย” เป็นภาษาจีนแต้จิ๋ว อั่ง...

ขอเชิญร่วมงานสัมมนา ครั้งที่ 3 ข้อถกเถียงในมรดกวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Current Issues in Cultural Heritage of Southeast...

UPCOMING 3rd WEBINAR AUGUST 31st, 2021, 5-7 pm. (Bangkok, GMT+7) Current Issues in Cultural Heritage of Southeast Asia: CONFLICTS AND HERITAGE POLITICS   Speakers วิทยากร อาจารย์อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล Udomluck Hoontrakul คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา...

หนังสือประกอบนิทรรศการ“คลื่นไหวภายใต้โดม การเป็นส่วนหนึ่งและการเคลื่อนย้ายในวัฒนธรรมมุสลิม”

สามารถดาวน์โหลดหนังสือประกอบนิทรรศการ “คลื่นไหวภายใต้โดม การเป็นส่วนหนึ่งและการเคลื่อนย้ายในวัฒนธรรมมุสลิม” ได้ตามลิงค์ด้านล่าง หนังสือประกอบนิทรรศการ“คลื่นไหวภายใต้โดม

วิดีโอสื่อความรู้มรดกวัฒนธรรม ตอนที่ 2 มรดกโลก

พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ขอร่วมสร้าง “The Power of Museum” โดยเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม วันนี้ขอเสนอตอนที่ 2 ชื่อว่า “มรดกโลก” https://www.youtube.com/watch?v=KRMiQ2egcdc&t=3s

“วัฒนธรรม” ของวานร

ในกระบวนการวิวัฒนาการ กลุ่มไพรเมตมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ สมองไพรเมตในส่วนที่ควบคุมการมองเห็นมีความซับซ้อนและหลากมิติมากขึ้น ในขณะที่สมองของการควบคุมการได้กลิ่นลดลง ตาทั้งสองข้างมองเห็นภาพที่มีความคมชัดขึ้นในกรอบที่กว้างกว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ทำให้ “การมอง” มีบทบาทสำคัญเพิ่มมากขึ้นต่อการเรียนรู้ มีการศึกษาว่าลีเมอร์ (Lemur)   ซึ่งอยู่ในกลุ่มโพรซิเมียน (Prosimian)  ลูกจะเรียนรู้แบบแผนพฤติกรรมจากแม่ โดยลูกมักจะให้ความสนใจสังเกตพฤติกรรมแม่ มากกว่าที่แม่จะสนใจมองลูก หรือ...

อคติทางเพศในการทำความเข้าใจวานรและมนุษย์

มีข้อสังเกตว่า เมื่อมนุษย์ทำความเข้าใจวานร มีความโน้มเอียงที่จะมอง และสร้างความรู้เกี่ยวกับสังคมวานรผ่านมุมมองที่มีเพศชายเป็นศูนย์กลาง (Androcentrism) โดยอาศัยฐานความคิดเรื่องเพศของโลกตะวันตกเป็นเกณฑ์ วานรวิทยา (Primatology) จึงพัวพันอยู่กับ “อคติของเพศชาย”  แม้จะมีสปีชีส์อยู่มากกว่า 200 สายพันธุ์ แต่นักไพรเมตศึกษาอาศัยความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของลิงบาบูนในทุ่งหญ้าสะวันนาของแอฟริกาเป็นรูปแบบหลักในการอธิบายแบบแผนวิวัฒนาการของทั้งวานรและมนุษย์...

ชวนอ่านบทความเรื่อง มาตรฐานเมทาดาทา สําหรับพิพิธภัณฑ์: ก้าวใหม่ ของพิพิธภัณฑ์ไทยในยุคดิจิทัล

ดาว์โหลดที่นี้: มาตรฐานเมทาดาทา สําหรับพิพิธภัณฑ์: ก้าวใหม่ ของพิพิธภัณฑ์ไทยในยุคดิจิทัล ขอขอบคุณภาพปกจาก: https://bellocollective.com/mind-your-metadata-a-podcasters-guide-to-titles-and-descriptions-479087734e6e