ความรู้

“วัฒนธรรม” ของวานร

ในกระบวนการวิวัฒนาการ กลุ่มไพรเมตมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ สมองไพรเมตในส่วนที่ควบคุมการมองเห็นมีความซับซ้อนและหลากมิติมากขึ้น ในขณะที่สมองของการควบคุมการได้กลิ่นลดลง ตาทั้งสองข้างมองเห็นภาพที่มีความคมชัดขึ้นในกรอบที่กว้างกว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ทำให้ “การมอง” มีบทบาทสำคัญเพิ่มมากขึ้นต่อการเรียนรู้ มีการศึกษาว่าลีเมอร์ (Lemur)   ซึ่งอยู่ในกลุ่มโพรซิเมียน (Prosimian)  ลูกจะเรียนรู้แบบแผนพฤติกรรมจากแม่ โดยลูกมักจะให้ความสนใจสังเกตพฤติกรรมแม่ มากกว่าที่แม่จะสนใจมองลูก หรือ...

เมื่อวานรเข้าสู่ “ยุคหิน” ?: “เครื่องมือ” และการนิยามความเป็นมนุษย์

ระหว่างที่เจน กูดัลล์ สังเกตพฤติกรรมของชิมแปนซีในเขตสงวนพันธุ์สัตว์ป่าลำธารกอมเบ ประเทศแทนซาเนีย ช่วง พ.ศ. 2503 เธอสังเกตเห็น ชิมแปนซีตัวที่เธอตั้งชื่อให้ว่า เดวิด เกรย์เบียร์ด นั่งยอง ๆ ข้าง ๆ จอมปลวก เด็ดใบหญ้าแหย่ลงในโพรง แล้วดึงใบหญ้าที่เต็มไปด้วยปลวกออกมา...

วิธีวิทยาของการศึกษาวานร

ครอบครัวชะนีในอุทยานเขาใหญ่ จากการทำงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง โดยทีมนักวิจัยชะนีของมหาวิทยาลัยมหิดลและศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทำให้มีการตั้งชื่อให้กับชะนีแต่ละตัว โดยแต่ละตัวจะได้รับการตั้งชื่อโดยนักวิจัยที่พบชะนีตัวนั้นเป็นคนแรก ชื่อชะนีจึงมีทั้งภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่นและไทย จากการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบทำให้สามารถระบุได้ว่าชะนีแต่ละตัวเป็นสมาชิกของครอบครัว (group) ใด  ที่มา : ดร.จันทร์เพ็ญ ศรลัมพ์ “บันทึกชีวิตชะนีใน 1...

เมื่อวานร “สนทนา”

ในการทดลองกับวานรใหญ่ไร้หาง เช่น กอริลลา ชิมแปนซี และโบโนโบ พบว่าสามารถเรียนรู้ไวยากรณ์ในภาษาสัญลักษณ์หรือภาษาท่าทาง แม้จะอยู่ในระดับต่ำกว่ามนุษย์วัยผู้ใหญ่ แต่ก็อยู่ในระดับสูงกว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป จากการศึกษา โกโก้ (Koko) กอริลลาที่เกิดในสวนสัตว์ซานฟรานซิสโก (เกิด พ.ศ.2514-2561) พบว่าสามารถเรียนรู้ “ภาษาสัญลักษณ์” ได้จำนวนเท่ากับเด็ก...

ภาษาวานร: จากเสียงถึงการสนทนา

ในขณะที่การศึกษาเกี่ยวกับ วานรใหญ่ไร้หาง ( Great Apes) เช่น ชิมแปนซี โบโนโบ กอริลลา และอุรังอุตัง ได้รับความสนใจในวงกว้าง เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีความ “ใกล้ชิด” กับมนุษย์ นักวิชาการอีกกลุ่มหนึ่งสนใจศึกษาและทำความเข้าใจวานร กลุ่ม “เอปเล็ก”...

วานรวิทยาและการศึกษาไพรเมต: ผู้ชายทำความเข้าใจ “ซาก” ผู้หญิงทำความเข้าใจ “ชีวิต” ?

Louis Leakey พ.ศ. 2446-2515 จุดเปลี่ยนสำคัญของวงการวานรวิทยาและไพรเมตศึกษาที่สร้าง ความสนใจให้กับสาธารณชนในวงกว้าง กล่าวได้ว่ามาจากผู้ชาย คนหนึ่ง คือ ดร.หลุยส์ ลีคกี (Louis Leakey พ.ศ....

อคติทางเพศในการทำความเข้าใจวานรและมนุษย์

มีข้อสังเกตว่า เมื่อมนุษย์ทำความเข้าใจวานร มีความโน้มเอียงที่จะมอง และสร้างความรู้เกี่ยวกับสังคมวานรผ่านมุมมองที่มีเพศชายเป็นศูนย์กลาง (Androcentrism) โดยอาศัยฐานความคิดเรื่องเพศของโลกตะวันตกเป็นเกณฑ์ วานรวิทยา (Primatology) จึงพัวพันอยู่กับ “อคติของเพศชาย”  แม้จะมีสปีชีส์อยู่มากกว่า 200 สายพันธุ์ แต่นักไพรเมตศึกษาอาศัยความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของลิงบาบูนในทุ่งหญ้าสะวันนาของแอฟริกาเป็นรูปแบบหลักในการอธิบายแบบแผนวิวัฒนาการของทั้งวานรและมนุษย์...

วานร: สัตว์เดรัจฉานหรือเทพเจ้า

อาลักษณ์กำลังจดบันทึกตามคำบอกของเทพธอธ กล่าวกันว่า หากสิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญาจากโลกอื่น ต้องการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตบนโลกที่เราอยู่ เป็นไปได้อย่างมากที่จะจัดให้มนุษย์และชิมแปนซีอยู่ในกลุ่มเดียวกัน เพราะเมื่อพิจารณาในระดับรูปลักษณ์หรือ DNA...

มนุษย์คือสิ่งใด ?

มนุษย์เป็นสิ่งประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่เพิ่งมีเมื่อไม่นานมานี้และน่าจะใกล้ถึงจุดจบแล้วMichel Foucault, 1994 ผลงานศึกษากายวิภาคสัดส่วนชายไทย เทคนิคปั้นหล่อปูนปลาสเตอร์, 2548 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงษ์พันธ์...