ความรู้

Le Petit Prince: Books, Collections and Cross-Cultural Dialogues.

77 Years of The Little Prince (1943-2020) The Little Prince has been translated into more than 380 languages amongst 62 countries, making this novella (short...

สารคดี Primates and Me: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์

นิทรรศการ Primates and Me: เรื่องของคุณ เรื่องของฉัน และเรื่องราวของพวกเรา Primates and Me: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์ คือ ความพยายามที่จะส่อง "กระจกสะท้อนที่ไม่คลุมเครือ" ฝ่าอคติม่านหมอกที่เคยหลงเชื่อกันว่า "วัฒนธรรม" คือคุณสมบัติจำเพาะเพียงอย่างเดียวของมนุษย์ ที่ทำให้พวกเราต่างจากวานร...

25 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

ดาวน์โหลดหนังสือ 25 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530 – พ.ศ.2555

ที่ทางของวานรและมนุษย์ ?

ในสังคมสมัยใหม่ จัดวางความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์หรือโดยเฉพาะวานร เปลี่ยนแปลงไปตามพื้นที่และเวลา ในวัฒนธรรมญี่ปุ่น มองความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ว่าเป็นความสัมพันธ์ระหว่างพี่น้องที่มีอาวุโสต่างกัน นับเป็นทัศนะที่มองเห็น “เอกภาพของมนุษย์และสัตว์” ในชาติตะวันตก ความคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของคนและวานรเริ่มเปลี่ยนไป หลังจากที่ชาร์ลส์ ดาร์วิน (พ.ศ.2352-2425) ตีพิมพ์ผลงานเกี่ยวกับทฤษฎีวิวัฒนาการ และการแสดงออกทางอารมณ์ในคนและสัตว์ ก่อนหน้านั้น นักปรัชญาสมัยใหม่ เช่น...

แสง สิ่งของ และการมองเห็น

โดยพื้นฐานแล้ว มนุษย์รับรู้และทำความเข้าโลกโดยผ่านดวงตา “การมองเห็นมาก่อนถ้อยคำ เด็กๆ มองเห็นและจดจำ ก่อนที่จะพูด (Seeing comes before words. The child looks and recognizes before it can speak. John Berger. Way of seeing...

มรดกวัฒนธรรมเชิงช่างเมืองเพชร

วัตถุจัดแสดง สมุดภาพตำราลายไทย

สิ่งของจากภาคสนาม

บัตรผ่านประตู วัตถุจัดแสดง : บัตรผ่านประตูการแข่งขันฟุตบอล, เสื้อยืดทีมการท่าเรือ เอฟซีแหล่งที่มา : กรุงเทพฯเจ้าของ...

วิดีโอสื่อความรู้มรดกวัฒนธรรม ตอนที่ 3 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ขอร่วมสร้าง “The Power of Museum” โดยเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม วันนี้ขอเสนอตอนที่ 3 ชื่อว่า “มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” https://www.youtube.com/watch?v=xjDxOHzc6vQ&list=PLLA0DiKmhv8yDq53YOU98jeqtr4KZG5sq&index=5

เมื่อวานร “สนทนา”

ในการทดลองกับวานรใหญ่ไร้หาง เช่น กอริลลา ชิมแปนซี และโบโนโบ พบว่าสามารถเรียนรู้ไวยากรณ์ในภาษาสัญลักษณ์หรือภาษาท่าทาง แม้จะอยู่ในระดับต่ำกว่ามนุษย์วัยผู้ใหญ่ แต่ก็อยู่ในระดับสูงกว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป จากการศึกษา โกโก้ (Koko) กอริลลาที่เกิดในสวนสัตว์ซานฟรานซิสโก (เกิด พ.ศ.2514-2561) พบว่าสามารถเรียนรู้ “ภาษาสัญลักษณ์” ได้จำนวนเท่ากับเด็ก...

คนกับของ

เกรียงไกร-หน้ากาล อ.ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วัตถุ: หน้ากาล มธ.323.2535 “หน้ากาล” หรือ “เกียรติมุข” เป็นประติมานวิทยาที่นิยมนำมาตกแต่งศาสนาสถานทั้งในฮินดูและพุทธศาสนา ทว่าหน้ากาลที่เก็บรักษาในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ คือ หน้ากาลที่เคยตกแต่งบนองค์เจดีย์พุทธศาสนา ซึ่งมีความหมายว่า ...กาลเวลาเป็นสิ่งหนึ่งที่เฝ้ากลืนกินสรรพสิ่ง แม้กระทั่งตัวมันเอง และเป็นสัจจะนิรันดร์...ทว่าหน้ากาลชิ้นนี้ได้นำมาเก็บรักษาในพิพิธภัณฑ์ที่มีเป้าหมายในการยื้อยุดมิให้กาลเวลาทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ด้วยเป้าหมายของการเป็น “วัตถุทางวัฒนธรรม” สำหรับการเรียนรู้ ...ด้วนสถานะนี้ หน้ากาลชิ้นนี้ จึงมีความหมายที่ย้อนแย้ง ด้วยกำลังถูกยื้อยุดมิให้เปลี่ยนแปลงภายใต้ความหมาย และภายใน...