ความรู้

สารคดี “ฃุนน้อย: เจ้าชายน้อย การสนทนาข้ามพื้นที่-ข้ามวัฒนธรรม-ข้ามเวลา”

จากหนังสือ Le Petit Prince และนิทรรศการ “เจ้าชายน้อย: หนังสือ ของสะสมและการสนทนาข้ามวัฒนธรรม”สู่สารคดี “ฃุนน้อย: เจ้าชายน้อย การสนทนาข้ามพื้นที่-ข้ามวัฒนธรรม-ข้ามเวลา” https://www.youtube.com/watch?v=sL7p5Ntd27U&t=3s

ที่ทางของวานรและมนุษย์ ?

ในสังคมสมัยใหม่ จัดวางความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์หรือโดยเฉพาะวานร เปลี่ยนแปลงไปตามพื้นที่และเวลา ในวัฒนธรรมญี่ปุ่น มองความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ว่าเป็นความสัมพันธ์ระหว่างพี่น้องที่มีอาวุโสต่างกัน นับเป็นทัศนะที่มองเห็น “เอกภาพของมนุษย์และสัตว์” ในชาติตะวันตก ความคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของคนและวานรเริ่มเปลี่ยนไป หลังจากที่ชาร์ลส์ ดาร์วิน (พ.ศ.2352-2425) ตีพิมพ์ผลงานเกี่ยวกับทฤษฎีวิวัฒนาการ และการแสดงออกทางอารมณ์ในคนและสัตว์ ก่อนหน้านั้น นักปรัชญาสมัยใหม่ เช่น...

วานรวิทยาและการศึกษาไพรเมต: ผู้ชายทำความเข้าใจ “ซาก” ผู้หญิงทำความเข้าใจ “ชีวิต” ?

Louis Leakey พ.ศ. 2446-2515 จุดเปลี่ยนสำคัญของวงการวานรวิทยาและไพรเมตศึกษาที่สร้าง ความสนใจให้กับสาธารณชนในวงกว้าง กล่าวได้ว่ามาจากผู้ชาย คนหนึ่ง คือ ดร.หลุยส์ ลีคกี (Louis Leakey พ.ศ....

ภาษาวานร: จากเสียงถึงการสนทนา

ในขณะที่การศึกษาเกี่ยวกับ วานรใหญ่ไร้หาง ( Great Apes) เช่น ชิมแปนซี โบโนโบ กอริลลา และอุรังอุตัง ได้รับความสนใจในวงกว้าง เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีความ “ใกล้ชิด” กับมนุษย์ นักวิชาการอีกกลุ่มหนึ่งสนใจศึกษาและทำความเข้าใจวานร กลุ่ม “เอปเล็ก”...

ชีวิตในจิตรกรรมฝาผนัง: จากคลังภาพจิตรกรรมฝาผนัง: อู่ทอง ประศาสน์วินิจฉัย

จากคลังภาพจิตรกรรมฝาผนัง: อู่ทอง ประศาสน์วินิจฉัย ชีวิตในจิตรกรรมฝาผนัง จากคลังภาพจิตรกรรมฝาผนัง: อู่ทอง ประศาสน์วินิจฉัย ชีวิตในจิตรกรรมฝาผนัง จากคลังภาพจิตรกรรมฝาผนัง: อู่ทอง...

วิธีวิทยาของการศึกษาวานร

ครอบครัวชะนีในอุทยานเขาใหญ่ จากการทำงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง โดยทีมนักวิจัยชะนีของมหาวิทยาลัยมหิดลและศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทำให้มีการตั้งชื่อให้กับชะนีแต่ละตัว โดยแต่ละตัวจะได้รับการตั้งชื่อโดยนักวิจัยที่พบชะนีตัวนั้นเป็นคนแรก ชื่อชะนีจึงมีทั้งภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่นและไทย จากการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบทำให้สามารถระบุได้ว่าชะนีแต่ละตัวเป็นสมาชิกของครอบครัว (group) ใด  ที่มา : ดร.จันทร์เพ็ญ ศรลัมพ์ “บันทึกชีวิตชะนีใน 1...

เมื่อวานร “สนทนา”

ในการทดลองกับวานรใหญ่ไร้หาง เช่น กอริลลา ชิมแปนซี และโบโนโบ พบว่าสามารถเรียนรู้ไวยากรณ์ในภาษาสัญลักษณ์หรือภาษาท่าทาง แม้จะอยู่ในระดับต่ำกว่ามนุษย์วัยผู้ใหญ่ แต่ก็อยู่ในระดับสูงกว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป จากการศึกษา โกโก้ (Koko) กอริลลาที่เกิดในสวนสัตว์ซานฟรานซิสโก (เกิด พ.ศ.2514-2561) พบว่าสามารถเรียนรู้ “ภาษาสัญลักษณ์” ได้จำนวนเท่ากับเด็ก...