ที่ทางของวานรและมนุษย์ ?
ในสังคมสมัยใหม่ จัดวางความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์หรือโดยเฉพาะวานร เปลี่ยนแปลงไปตามพื้นที่และเวลา ในวัฒนธรรมญี่ปุ่น มองความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ว่าเป็นความสัมพันธ์ระหว่างพี่น้องที่มีอาวุโสต่างกัน นับเป็นทัศนะที่มองเห็น “เอกภาพของมนุษย์และสัตว์”
ในชาติตะวันตก ความคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของคนและวานรเริ่มเปลี่ยนไป หลังจากที่ชาร์ลส์ ดาร์วิน (พ.ศ.2352-2425) ตีพิมพ์ผลงานเกี่ยวกับทฤษฎีวิวัฒนาการ และการแสดงออกทางอารมณ์ในคนและสัตว์ ก่อนหน้านั้น นักปรัชญาสมัยใหม่ เช่น...
วานร ถึง มนุษย์ จากลูซี ถึง ปรีดี พนมยงค์
ลูซี: ระหว่างเส้นทางจากวานรสู่มนุษย์
ก่อนหน้านั้นเพียงสองปี (พ.ศ.2517) ที่บริเวณแหล่งขุดค้นฮาดาร์ (Hadar) ประเทศเอธิโอเปีย ทวีปแอฟริกา นักบรรพชีวินวิทยา นำโดย โดนัลด์ โจฮันสัน (Donald Johanson)...
นิทรรศการออนไลน์ Primates and Me: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์
ส่อง “กระจกสะท้อนที่ไม่คลุมเครือ” ฝ่าอคติม่านหมอกที่เคยหลงเชื่อกันว่า “วัฒนธรรม” คือคุณสมบัติจำเพาะ เพียงอย่างเดียวของมนุษย์ ที่ทำให้พวกเรา ต่างจาก วานร สัตว์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
วานร ถึง มนุษย์: รอยเท้าแรกของบรรพชน
อาจกล่าวได้ว่าหลักฐานของ “การเดินทาง” ครั้งแรกเพื่อที่จะเป็น “มนุษย์” เริ่มขึ้นที่ประเทศแทนซาเนีย ทวีปแอฟริกาตะวันออก
ฉากมหาชาติ 13 กัณฑ์ วัดขุนตรา จังหวัดเพชรบุรี
มรดกเชิงช่างเมืองเพชร
เพชรบุรีได้รับการกล่าวขานและยอมรับว่า เป็นเมืองช่างฝีมืออันดับต้นๆ ของประเทศ เพราะมีงานศิลปกรรมโบราณอันทรงคุณค่าที่ได้รับ การดูแลรักษาเป็นหลักฐานให้ได้ประจักษ์ และยังมีการถ่ายทอดภูมิปัญญาสกุลช่างเมืองเพชรจากรุ่นสู่รุ่นสืบมาจนถึงปัจจุบัน งานช่างเมืองเพชรรุ่งเรืองมากในสมัยอยุธยาตอนปลาย ในยุคนี้ ชาวเพชรบุรีเข้าไปมีความสัมพันธ์กับราชสำนักกรุงศรีอยุธยาเป็นจำนวนมาก ทั้งในฐานะพระภิกษุผู้ทรงภูมิ ทรงคุณอันเป็นที่นับถือของพระมหากษัตริย์ เจ้านาย และขุนนาง มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับเจ้านายในราชสำนัก และการเข้าไปรับราชการ ตัวอย่างบุคคลเหล่านี้ เช่น สมเด็จพระสังฆราชแตงโม วัดพระมหาธาตุในกรุงศรีอยุธยาที่ไปจากวัดใหญ่สุวรรณาราม พระอาจารย์แสง วัดเขาบันไดอิฐ กรมหลวงอภัยนุชิตและกรมหลวงพิพิธมนตรีในพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศที่มีเชื้อสายพราหมณ์บ้านสมอพลือในช่วงกรุงศรีอยุธยาตอนปลายมีการปฏิสังขรณ์อารามในเมืองเพชรบุรีเป็นจำนวนมาก เช่น วัดใหญ่สุวรรณาราม วัดมหาธาตุ...
สารคดี Primates and Me: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์
นิทรรศการ Primates and Me: เรื่องของคุณ เรื่องของฉัน และเรื่องราวของพวกเรา
Primates and Me: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์ คือ ความพยายามที่จะส่อง "กระจกสะท้อนที่ไม่คลุมเครือ" ฝ่าอคติม่านหมอกที่เคยหลงเชื่อกันว่า "วัฒนธรรม" คือคุณสมบัติจำเพาะเพียงอย่างเดียวของมนุษย์ ที่ทำให้พวกเราต่างจากวานร...
ชวนอ่าน…หนังสือรวมบทความพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม
บทบรรณาธิการ แนะนำผู้เขียน สารบัญ อ่านได้ที่
(1) แนวทางการจัดเก็บและจัดแสดงวัตถุพิพิธภัณฑ์ ประเภทเครื่องจักสานในประเทศไทย (ปัฐยารัช ธรรมวงษา) อ่านได้ที่
(2) การอนุรักษ์เชิงป้องกันกับงานพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ในประเทศไทย: นิยามและความตระหนักรู้ (บุรินทร์ สิงโตอาจ) อ่านได้ที่
สารคดี “ฃุนน้อย: เจ้าชายน้อย การสนทนาข้ามพื้นที่-ข้ามวัฒนธรรม-ข้ามเวลา”
จากหนังสือ Le Petit Prince และนิทรรศการ “เจ้าชายน้อย: หนังสือ ของสะสมและการสนทนาข้ามวัฒนธรรม”สู่สารคดี “ฃุนน้อย: เจ้าชายน้อย การสนทนาข้ามพื้นที่-ข้ามวัฒนธรรม-ข้ามเวลา”
https://www.youtube.com/watch?v=sL7p5Ntd27U&t=3s
สารคดี “มรดกวัฒนธรรมเชิงช่างเมืองเพชร”
จาก นิทรรศการ สู่สารคดี “มรดกวัฒนธรรมเชิงช่างเมืองเพชร”ร่วมหาคำตอบมรดกวัฒนธรรมเชิงช่างเมืองเพชรคืออะไร ?
https://www.youtube.com/watch?v=X7bgoPD7wLc