ประชาสัมพันธ์

เตียบ

ทะเบียนวัตถุ:  มธ. 1320/ 2535  ชื่อวัตถุ: เตียบ  อายุ: พุทธศตวรรษที่ 25  ศิลปะ: ล้านนา  วัสดุ: ไม้, รัก, ชาด  ขนาด: สูงรวมฝา 59 เซนติเมตร, ลำตัวสูง 23.3 เซนติเมตร, เส้นผ่านศูนย์กลางปาก 29.7 เซนติเมตร, เส้นผ่านศูนย์กลางฐาน 31.3 เซนติเมตร สภาพ: ชำรุดเล็กน้อย...

งานสัมมนาวิชาการ “แสง สิ่งของและการมองเห็น : ภาพถ่ายสิ่งของจากภาคสนามและการทำความเข้าใจ คนอื่น ”

  วันอังคารที่ 28 สิงหาคม พ.ศ.2561 ณ ห้องAuditorium 1 อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต วิทยากร         ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.จันทนี เจริญศรีอาจารย์คณะสังคมวิทยาฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาจารย์ ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ อาจารย์ประจำภาควิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ  คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กิตติคุณ มูลเดิน ศิษย์เก่าคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศุภชัย เกศการุณกุล ช่างภาพพอร์ตเทรต นักเขียน เจ้าของโฟโต้บุ๊คLes...

ชวนอ่าน…หนังสือรวมบทความพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม

บทบรรณาธิการ แนะนำผู้เขียน สารบัญ อ่านได้ที่ (1) แนวทางการจัดเก็บและจัดแสดงวัตถุพิพิธภัณฑ์  ประเภทเครื่องจักสานในประเทศไทย (ปัฐยารัช ธรรมวงษา) อ่านได้ที่  (2) การอนุรักษ์เชิงป้องกันกับงานพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ในประเทศไทย: นิยามและความตระหนักรู้ (บุรินทร์ สิงโตอาจ) อ่านได้ที่

อัก

ทะเบียนวัตถุ: มธ. 2342/ 2535  ชื่อวัตถุ: อัก  อายุ: พุทธศตวรรษที่ 25  ศิลปะ: พื้นถิ่นอีสาน  วัสดุ: ไม้  ขนาด: สูง 50 เซนติเมตร, ฐานยาว 60 เซนติเมตร, ขอบฐาน 10.5 เซนติเมตร  สภาพ: สมบูรณ์  ลักษณะ: “อัก” หรือ อีสานเรียกว่า “กวัก” เป็นเครื่องคัดเส้นด้ายหรือเส้นไหม ทำด้วยไม้คล้ายหลอดด้าย...

น้ำเต้า

ทะเบียนวัตถุ: มธ. 2163/ 2535 ชื่อวัตถุ: น้ำเต้า อายุ: พุทธศตวรรษที่ 26 ศิลปะ: - วัสดุ: พืช, ตอก, ไม้ ขนาด: สูง 30 เซนติเมตร, เส้นผ่าศูนย์กลางฐาน 18.5 เซนติเมตร สภาพ: สมบูรณ์ ลักษณะ: “น้ำเต้า” ภาชนะสำหรับใส่น้ำดื่มระหว่างเดินทาง ทำจากผลน้ำเต้าแห้งที่คว้านเอาเมล็ดออก ตัดด้านที่ใกล้กับขั้วสำหรับกรอกน้ำและเทน้ำออก แล้วทำจุกปิด ใช้หวายและตอกหุ้มรอบๆ...

Call for papers การประชุมวิชาการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 1 Museum & Heritage 2020

พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ ร่วมกับ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) และคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญส่งบทความเข้าร่วม การประชุมวิชาการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 1 Museum & Heritage 2020 ...

หนังสือ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ: บทเรียนจากเพื่อนบ้าน

หนังสือ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ: บทเรียนจากเพื่อนบ้าน Heritage of the Nations : lessons learned from the neighboring countries) จัดพิมพ์ขึ้นโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ หนังสือ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ: บทเรียนจากเพื่อนบ้าน (Heritage of the Nations...

กิจกรรมพิพิธภัณฑ์สัญจร: เที่ยววัด ชมวังและงานช่างสกุลเมืองเพชร

เมื่อวันที่ 24-25กุมภาพันธ์2561ทางคณะกรรมการพิพิธภัณฑ์ฯร่วมกับฝ่ายกิจการนักศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ได้จัดโครงการพิพิธภัณฑ์สัญจรขึ้น ภายใต้ชื่อว่า พิพิธภัณฑ์สัญจร: เที่ยววัด ชมวังและงานช่างสกุลเมืองเพชร โดยได้พานักศึกษาที่มีความสนใจในศิลปะงานช่างและงานพิพิธภัณฑ์ไปเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม ณ อ.เขาย้อย,อ.บ้านลาด และอ.เมือง จ.เพชรบุรี พื้นที่ที่เข้าเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมและงานช่างสกุลเพชร ประกอบไปด้วย วันเสาร์ที่ 24 กุมภาพันธ์2561 วัดกุฏิ (บางเค็ม)อ.เขาย้อย ที่นี้มีโบสถ์ไม้สักหลังงาม ผนังภายนอกถูกสลักเรื่องราวทศชาติต่างๆ ไซอิ๋ว และวิถีชีวิตชาวเมืองเพชรส่วนบานประตูสลักเรื่องรามเกียรติ วัดใหญ่สุวรรณารามภายในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนังที่สวยงาม อาทิภาพพระพุทธรูปปางมารวิชัยและพระแม่ธรณีบีบมวยผม หลังพระประธานประดิษฐาน พระพุทธรูป6...

นิทรรศการ “สู่ขวัญข้าว เจ้าแม่โพสพ”

เจ้าแม่โพสพ คือใคร ?สำคัญอย่างไร ? จึงพบได้ในพิธีกรรมแห่งท้องทุ่งนาทั่วประเทศ นับจากบนขุนเขาในภาคเหนือ จรดทุ่งนาในอีสานและภาคใต้เชิญชมนิทรรศการ “สู่ขวัญข้าว เจ้าแม่โพสพ” ได้แล้ว วันนี้ ถึง 15 พฤศจิกายน 2562 เวลา 09.30-15.30 น.ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตโดยนิทรรศการครั้งนี้ได้รับความเอื้อเฟื้อจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม คุณธีรภาพ...

นิทรรศการออนไลน์ Primates and Me: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์

ส่อง “กระจกสะท้อนที่ไม่คลุมเครือ” ฝ่าอคติม่านหมอกที่เคยหลงเชื่อกันว่า “วัฒนธรรม” คือคุณสมบัติจำเพาะ เพียงอย่างเดียวของมนุษย์ ที่ทำให้พวกเรา ต่างจาก วานร สัตว์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ