ความรู้

แห่เทียนพรรษา: งานบุญ สร้างสามัคคีของพุทธศาสนิกชน

แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปีคือวันเข้าพรรษา ปี 2567 ตรงกับวันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม 2567 ความสำคัญของวันเข้าพรรษาคือการที่พระภิกษุสงฆ์อยู่จำพรรษาเป็นเวลา 3 เดือน โดยในระยะเวลา 3 เดือนพระภิกษุสงฆ์จะได้เพื่อศึกษาธรรมวินัย ในขณะเดียวกันก่อนจะถึงวันเข้าพรรษาเหล่าพุทธศาสนิกชนจะจัดเตรียมเทียนและผ้าอาบน้ำฝนเพื่อถวายวัด

ขอเชิญรับชมคลิปวิดีโอ การประชุมวิชาการฯ วันที่ 5 กันยายน 2567

ขอเชิญรับชมคลิปวิดีโอ การประชุมวิชาการฯ วันที่ 5 กันยายน 2567 การประชุมวิชาการระดับชาติ พิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 3 "ส่อง-สะท้อน-สลายการรวมศูนย์ ในงานพิพิธภัณฑ์ มรดกวัฒนธรรม และโบราณคดี" การบรรยายนิทรรศการ สุมิตร...

พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ขอเชิญชมนิทรรศการ สุมิตร ปิติพัฒน์ (2486-2567): การส่งต่อและสืบทอด “มรดกวัฒนธรรม” โดยนิทรรศการ นำเสนอภาพถ่ายจากภาคสนาม ศิลปะวัตถุ วัตถุทางชาติพันธุ์และวัตถุจากการขุดค้นทางโบราณคดีซึ่งเป็นผลมาจากการศึกษาวิจัยเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 5 ทศวรรษของรองศาสตราจารย์สุมิตร ปิติพัฒน์ อดีตรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตคณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2531-2534) และ อดีตผู้อำนวยการสถาบันไทยคคีศึกษา...

ภาพถ่ายและจดหมายเหตุ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา: รองศาสตราจารย์สุมิตร ปิติพัฒน์ (19 พฤษภาคม 2486-11 สิงหาคม 2567)

รองศาสตราจารย์สุมิตร ปิติพัฒน์ อดีตรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตคณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2531-2534) และ อดีตผู้อำนวยการสถาบันไทยคคีศึกษา (พ.ศ. 2536-2542) รองศาสตราจารย์สุมิตรจบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาสังคมศาสตร์ จาก Michigan State University และสาขามานุษยวิทยา จาก Harvard University สหรัฐอเมริกา ท่านเป็นบุคลากรที่มีบทบาทและคุณูประการอย่างสำคัญต่อคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์...

หนังสือประกอบนิทรรศการ Primates and me

ปก/คำนำ/สารบัญ อ่าน ภาคแรก: วานรและไพรเมต /วานรถึงมนุษย์ : รอยเท้าแรกของบรรพชน /วานรถึงมนุษย์ จากลูซี ถึงปรีดี พนมยงค์ อ่าน ภาคสอง: วานรวิทยาและการศึกษาไพรเมต ผู้ชายทำความเข้าใจซาก ผู้หญิงทำความเข้าใจ...

งานเปิดนิทรรศการ PRIMATES and ME เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์ ณ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

กำหนดการ งานเปิดนิทรรศการ PRIMATES and ME  เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์ ภาคเช้า วันที่ 15  มิถุนายน 2567 เวลา 09.00-12.00น.

พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ: ขวัญแรกและกำลังใจเกษตรกรไทย

ปี 2567  ได้กำหนดให้วันศุกร์ที่ 10 พฤษภาคม 2567 เป็นวันพืชมงคล หรือวันเริ่มตนแห่งฤดูกาลเพาะปลูก วันพืชมงคล จะมีพระราชพิธี 2 พิธีรวมกัน คือ พระราชพิธีพืชมงคล อันเป็นพิธีสงฆ์ (เพิ่งมีขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตรโกสินทร์) เป็นพระราชพิธีวันแรกในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม...

สงกรานต์ไทย: มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ Songkran in Thailand: The Intangible Cultural Heritage of Humanity

คำ “สงกรานต์” เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า การเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนย้าย หมายถึง การเคลื่อนย้ายของพระอาทิตย์จากราศีหนึ่งสู่ราศีหนึ่ง สงกรานต์ จึงเป็นช่วงเวลาที่พระอาทิตย์เคลื่อนย้ายจากราศีมีนสู่ราศีเมษโดยถือว่าเป็นช่วงเวลาของการเข้าสู่ปีใหม่ ถือกันว่าวันที่ 13 เมษายน เป็นวันสิ้นปีเก่า ซึ่งเป็นวันมหาสงกรานต์ ซึ่งเป็นวันที่พระอาทิตย์เคลื่อนย้ายไปสู่ ราศีเมษ ส่วนวันที่ 14...

ชีวิตในจิตรกรรมฝาผนัง: จากคลังภาพจิตรกรรมฝาผนัง: อู่ทอง ประศาสน์วินิจฉัย

เนื้อหา สงกรานต์ไทย: มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ

มุสลิมทั้งผอง พี่น้องกัน

แท้จริงบรรดาผู้ศรัทธานั้นเป็นพี่น้อง - ซูเราะห์อัล-หุญุรอต อายะห์ที่ 10