ประกาศตารางการนำเสนอบทความสำหรับผู้นำเสนอบทความ การประชุมวิชาการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 3

581
views

ประกาศตารางการนำเสนอบทความสำหรับผู้นำเสนอบทความ การประชุมวิชาการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 3

“ส่อง-สะท้อน-สลายการรวมศูนย์ ในงานพิพิธภัณฑ์ มรดกวัฒนธรรมและโบราณคดี”

ผู้นำเสนอบทความกรุณายืนยันการนำเสนอบทความผ่านลิงก์

https://forms.gle/XvZZTZDkE4V6LPoH9

ภายในวันจันทร์ที่ 5 สิงหาคม 2567

ส่วนบทความที่ผ่านการพิจารณาตีพิมพ์ ทางคณะผู้จัดงานจะส่ง E-mail ถึงท่านโดยตรง

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม 02-6966610

หรือ 089-6345143 เหมือนพิมพ์

E-mail: museum.socanth.com

 

วันพฤหัสบดีที่ 5 กันยายน 2567

เวลา รายการ สถานที่
09.45-10.45 ปาฐกถานำ
”Objects outside the museum – decentering heritage studies in Southeast Asia by rethinking museum practices”
by Anna Karlström
Auditorium 1
11.00-12.30

Panel 1: “Current issues in Archaeology & Mainland and Maritime Southeast Asian”

1. ‘Ancient Kedah as a maritime polity: site distribution and pattern of settlement’
by Nasha Rodziadi Khaw

2. ‘Climate Change, Merit Making, and Heritage: The Impact of Flood and Restoration Ancient Water Infrastructures in Bagan’
by Saw Tun Lin

3. ‘Archaeological theory and the assessment of Southeast Asia’s ancient past’
by Hunter Watson

4.‘Why do we have to distinguish between Mainland and Maritime Southeast Asia? The Dynamic of Interactions, Cultural Sharing, and Cultural Differences’
by Pipad Krajaejun

Moderator: Udomluck Hoontrakul

Auditorium 1
13.30-15.00

Panel 2: “Southeast Asian Museum and Heritage”

1. ‘Recentering the Temple Museum and Socially Engaged Curating’
by Heidi Tan, Udomluck Hoontrakul, and Ohmar Myo

2. ‘From “Death” Museum to Becoming a Living Museum the case of the Anthropology Museum at the University’
by Moordiati and Sarkawi B. Husain

3. Our Aligned Missions to Preserve Heritage’
by Abhirada Komoot

4. ‘Heritage Documentation in the Philippines: Notes on Cultural Mapping with Local Governments’
by Floper Gershwin E. Manuel

Moderator: Podjanok Kanjanajuntor

Auditorium 1
15.15-16.15

Discussion ‘De-centering Archaeology, Museum, and Heritage in Southeast Asia’

by Anna Karlström
Hunter Watson
Heidi Tan
Podjanok Kanjanajuntorn

Moderator: Udomluck Hoontrakul

Auditorium 1

 

 

วันศุกร์ที่ 6 กันยายน 2567

เวลา รายการ สถานที่
09.30-11.00

Panel 3: ผัสสะและจินตกรรมในพิพิธภัณฑ์

1. พิพิธภัณฑ์แห่งจินตภาพของงานดนตรีไทย: ผลสะท้อนทางภววิทยาแลประวัติศาสตร์เพลงสยามจากเอกสารโน้ตเพลงชุด “โหมโรงเย็น” ของกรมศิลปากรภายหลัง พ.ศ. 2475
โดย ฟรานซีส นันตะสุคนธ์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประจำภาควิชานาฏสังคีต คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร)

2. เสียงกับประสบการณ์ในพิพิธภัณฑ์ไทย
โดย จารุวรรณ ด้วงคำจันทร์ (นักวิชาการอิสระ)

3.ย่ำย่านโคมแดงในพิพิธภัณฑ์พัฒน์พงศ์
โดย นงค์ลักษณ์ บัทเลอร์ (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต <สตรี เพศสถานะ และเพศวิถีศึกษา> วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

4.พิพิธภัณฑ์ : พื้นที่แห่งการสร้างชาติ อำนาจแห่งความทรงจำ
โดย ณัฐวัชร์ อุ่นจิตรเลิศ (นักศึกษาปริญญาโท
สาขามานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

Auditorium 1
11.15-12.30

Panel 4.1: สะสม สื่อสาร และสร้างความหมายวัตถุพิพิธภัณฑ์

1. ฟื้นชีวิตพิพิธภัณฑ์กับการแสวงหาการมีส่วนร่วมของสังคม กรณีศึกษา: พิพิธภัณฑ์พระอุบาลีมหาเถระ วัดธรรมาราม พระนครศรีอยุธยา อนุสรณ์สถานประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์พุทธศาสนาไทย-ศรีลังกา
โดย สมรักษ์ เจียมธีรสกุล (นิสิตปริญญาเอก คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

2. จาก “ศิลปินผู้ศึกษาด้วยตนเอง” สู่พิพิธภัณฑ์ระดับโลก: บทบาทของการจัดการองค์ความรู้ในการจัดการชุดสะสมของ จ่าง แซ่ตั้ง
โดย นวภู แซ่ตั้ง (นักศึกษาปริญญาเอก Faculty of Creative Arts, University of Malaya และผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์จ่าง แซ่ตั้ง) และภูมีรพี แซ่ตั้ง (นักวิชาการอิสระและผู้ช่วยผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์จ่าง แซ่ตั้ง)

3.พิพิธภัณฑ์การแพทย์ศิริราช: ความทรงจำ(ที่ขาดหาย) การกลายเป็นวัตถุ และร่างกายผิดปกติ
โดย ธนพัฒน์ สืบเสาะ (นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

4.ชาติพันธุ์จารึก
โดย พิมชนน์ จันทร์งาม (หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพิพิธภัณฑศึกษา สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล) และ ธีรวรรณ มิ่งบัวหลวง (สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล)

Auditorium 1
11.15-12.30

Panel 4.2: ส่องบทบาท สะท้อนอำนาจในพิพิธภัณฑ์

1. บทบาทของพิพิธภัณฑ์ร่วมสมัยในการเป็นพื้นที่เรียนรู้สำหรับคนพิการทางการเห็น
โดย ทักษิณา พิพิธกุล (อาจารย์ประจำคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ)

2.วงจรชีวิตของพิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์วิทยาในประเทศไทย
โดย พิสุทธิลักษณ์ บุญโต (นักศึกษาหลักสูตร Ph.D. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร)

3.วาดอนาคต ณ หอนิทรรศการเมืองสิงคโปร์
โดย ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ (นักจัดการความรู้ ฝ่ายพัฒนาองค์ความรู้พิพิธภัณฑ์ สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ)

Auditorium 2
13.30-15.00

Panel 5.1: เศรษฐกิจชุมชน ความทรงจำร่วม และผีในมรดกวัฒนธรรมศึกษา

1.แนวคิดการปรับพื้นที่ตลาดฟื้นอดีตบางมูลนากจากสิ่งที่เหลืออยู่ในชุมชนกับการรื้อฟื้นความทรงจําร่วมของชาวบางมูลนาก
โดย อภิสิทธิ์ ประวัติเมือง (นักวิชาการอิสระ มูลนิธิแก้วคุ้มครอง) และ
ปิยะกษิดิ์เดช เปลือยศรี (นิสิตปริญญาเอก <สาขาวิชาพัฒนศึกษา> สังกัดภาควิชาภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นําทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) และ
อัจฉริยา ขําแป้น (นักวิชาการอิสระ มูลนิธิแก้วคุ้มครอง อําเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร)

2.พิพิธภัณฑ์ประจำแหล่งขุดค้นกับชุมชนเมือง: กรณีศึกษา ประตูเมืองไทเป ทิศเหนือ ย่านเป่ยเหมิน เมืองไทเป ไต้หวัน
โดย พีรศักดิ์ กลับเกตุ (นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาโลกศาสตร์ ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้ช่วยนักวิจัย ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร)

Auditorium 1
13.30-15.00

Panel 5.2: รักษา พัฒนา และสร้างสรรค์ สู่ความยั่งยืนของมรดกวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ์

1.การรักษาเรือน ด้วยภูมิปัญญาเชิงช่างท้องถิ่น: พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณล้านนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โดย ฐาปนีย์ เครือระยา (สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและล้านนาสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และนักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร)

2.การส่งเสริมสุขภาวะทางสังคมเพื่อการจัดการและอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมชุมชนที่ยั่งยืน
โดย ทวีวรรณ เปลี่ยนม่วง (หลักสูตรนานาชาติการจัดการมรดกทางสถาปัตยกรรมกับการท่องเที่ยว คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร)

3.ส่งเสริมสู่สร้างสรรค์อย่างยั่งยืน
โดย ชุติมา พรหมาวัฒน์ (พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณล้านนา สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและล้านนาสร้างสรรค มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

4.การพัฒนานิทรรศการวิวิธชาติพันธุ์ ของพิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล สู่การเป็นพิพิธภัณฑ์เคลื่อนที่ผ่านมุมมองการพัฒนาที่ยั่งยืน
โดย ปิยชัย นาคอ่อน (นักวิจัยยุทธศาสตร์เชิงรุก คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

Auditorium 2