ประกาศผลพิจารณาบทคัดย่อ โครงการประชุมวิชาการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 3

596
views

ประกาศผลพิจารณาบทคัดย่อ

โครงการประชุมวิชาการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 3

“ส่อง-สะท้อน-สลายการรวมศูนย์ ในงานพิพิธภัณฑ์ มรดกวัฒนธรรม และโบราณคดี”

ลำดับชื่อ-นามสกุลชื่อบทคัดย่อ
1.1.นวภู แซ่ตั้ง
2.ภูมีรพี แซ่ตั้ง
จาก “ศิลปินผู้ศึกษาด้วยตนเอง” สู่พิพิธภัณฑ์ระดับโลก: บทบาทของการจัดการองค์ความรู้ในการจัดการชุดสะสมของ จ่าง แซ่ตั้ง
2.ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติวาดอนาคต ณ หอนิทรรศการเมืองสิงคโปร์ Framing the Future at Singapore City Gallery
3.จิณณวัตร เลิศประดิษฐ์การใช้พิพิธภัณฑ์เพื่อสอนเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น: การทบทวนวรรณกรรมและกรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย The Use of Museums to Teach about Local Environmental Issues: A Literature Review and Case Study of Local Museums in Thailand
4.ปิยชัย นาคอ่อน“การพัฒนานิทรรศการวิวิธชาติพันธุ์ ของพิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล สู่การเป็นพิพิธภัณฑ์เคลื่อนที่ผ่านมุมมองการพัฒนาที่ยั่งยืน” The development of Vivid Ethnicity Special Exhibition in the Museum of Cultural Anthropology at RLICA Mahidol University to the Mobility Museum from a Sustainable Development Goals Perspective.
5.นงค์ลักษณ์ บัทเลอร์ย่ำย่านโคมแดงในพิพิธภัณฑ์พัฒน์พงศ์ Wandering the Red Light District in the Patpong Museum
6.ชุติมา พรหมาวัฒน์ส่งเสริมสู่สร้างสรรค์อย่างยั่งยืน Driving Creative & Sustainable
7.1.อภิสิทธิ์ ประวัติเมือง
2.ปิยะกษิดิ์เดช เปลือยศรี 3.อัจฉริยา ขําแป้น
แนวคิดการปรับพื้นที่ตลาดฟื้นอดีตบางมูลนากจากสิ่งที่เหลืออยู่ในชุมชน กับการรื้อฟื้นความทรงจําร่วมของชาวบางมูลนาก The Concept of Revitalizing the Space of Bang Mun Nak Old Market from Remaining Community Assets and Rebuilding Collective Memories among Bang Muang Nak Residents
8.พิสุทธิลักษณ์ บุญโตวงจรชีวิตของพิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์วิทยาในประเทศไทย Life Cycle of Thailand’s Ethnographic Museums
9.ธนพัฒน์ สืบเสาะพิพิธภัณฑ์การแพทย์ศิริราช : ความทรงจำ(ที่ขาดหาย) การกลายเป็นวัตถุ และ ร่างกายผิดปกติ Siriraj Medical Museum: (missing)memories, Materialization and abnormal bodies
10.โมไนย กระจ่างพัฒน์พิพิธภัณฑ์จินตกรรม: การนำเสนอคนจนและความจนบนพื้นที่ จินตกรรมในวัฒนธรรมไทยตั้งแต่ทศวรรษ 2470 ถึง 2540 Imagination Museum: Presenting the poor and poverty in the area Imagination in Thai culture from the 1920s to the 1997s
11.1.พิมชนน์ จันทร์งาม
2.ธีรวรรณ มิ่งบัวหลวง
ชาติพันธุ์จารึก Ethnic Inscribed
12.ฟรานซีส นันตะสุคนธ์พิพิธภัณฑ์แห่งจินตภาพของงานดนตรีไทย :ผลสะท้อนทางภววิทยาแลประวัติศาสตร์เพลงสยามจากเอกสารโน้ตเพลงชุด “โหมโรงเย็น” ของกรมศิลปากรภายหลัง พ.ศ. 2475 The Imaginary Museum of the Thai Musical Works: Ontological and Historical Reflections on Siamese Music From the “Evening Prelude” Sheet Music, a Publication of the Fine Arts Department After 1932.
13.ณัฐวัชร์ อุ่นจิตรเลิศพิพิธภัณฑ์ : พื้นที่แห่งการสร้างชาติ อำนาจแห่งความทรงจำ Museums: Spaces of Nation Building, Power of Memory
14.วรรณพงษ์ ปาละกะวงษ์ ณ อยุธยาการใช้การขุดค้นทางโบราณคดีในฐานะพื้นทื่สืบค้นร่องรอยมรดกทางวัฒนธรรมในอดีตให้เป็นแหล่งเรียนรู้เฉพาะกิจของประชาชนทุกเพศ ทุกวัยในชุมชนภายใต้แนวคิด “ต่อยอดวิชาการ ผสานชุมชน”
15.จารุวรรณ ด้วงคำจันทร์เสียงกับประสบการณ์ในพิพิธภัณฑ์ไทย Sound and experiences in Thai museums
16.ทักษิณา พิพิธกุลบทบาทของพิพิธภัณฑ์ร่วมสมัยในการเป็นพื้นที่เรียนรู้สำหรับคนพิการทางการเห็น The role of contemporary art museums as learning spaces for people with visual impairment
17.ฐาปนีย์ เครือระยาการรักษาเรือน ด้วยภูมิปัญญาเชิงช่างท้องถิ่น : พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณล้านนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ The Prevention of Traditional House using the Local Craftsmanship Wisdom: The Lanna Traditional House Museum, Chiang Mai University
18.สมรักษ์ เจียมธีรสกุลฟื้นชีวิตพิพิธภัณฑ์กับการแสวงหาการมีส่วนร่วมของสังคม กรณีศึกษา: พิพิธภัณฑ์พระอุบาลีมหาเถระ วัดธรรมาราม พระนครศรีอยุธยา อนุสรณ์สถานประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์พุทธศาสนาไทย-ศรีลังกา The Revival of Museum vs Seeking of Social Engagement Case Study: Phra Upali Maha Thera Museum, Wat Dhammaram, Phra Nakhon Sri Ayutthaya Buddhist relationship historical memorial site Thai-Sri Lanka
19.ทวีวรรณ เปลี่ยนม่วงการส่งเสริมสุขภาวะทางสังคมเพื่อการจัดการและอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมชุมชนที่ยั่งยืน Community wellbeing promotion for architectural heritage management and endurance
20.พีรศักดิ์ กลับเกตุพิพิธภัณฑ์ประจำแหล่งขุดค้นกับชุมชนเมือง: กรณีศึกษา ประตูเมืองไทเป ทิศเหนือ ย่านเป่ยเหมิน เมืองไทเป ไต้หวัน Site Museum and Urban Community: case study Taipei North Gate, Beimen quarter, Taipei City, Taiwan
21.ศุภกิตด์ โตประเสริฐทุนทางวัฒนธรรมของอาเซียนกับการจัดการเศรษฐกิจสร้างสรรค์: กรณีจากอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย
22.ศิปปชัย กุลนุวงศ์พิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุอิสระในประเทศไทย: เป้าหมาย ความท้าทาย และการบันทึกประวัติศาสตร์นอกกระแส Independent Museums and Archives in Thailand: Purposes, Challenges, and the Preservation of Non-mainstream History
23.อิศเรส เตชะเจริญกิจปลุก ‘ผีบ้า’ เผยโฉมหน้า ‘ผีบุญ’: ขบวนการรื้อฟื้นประวัติศาสตร์ “ผู้มีบุญ” ในอีสานหลังพ.ศ. 2563 The Rebirth of “Rebel”: Historical Reinterpretation of Isaan Holy Man’s Rebellion after 2020

ผู้ที่ผ่านการพิจารณาบทคัดย่อ กรุณาส่งบทความฉบับสมบูรณ์ ภายในวันอาทิตย์ที่ 30 มิถุนายน 2567 ทางอีเมล์ museum.socanth@gmail.com

รายละเอียดบทความฉบับสมบูรณ์

  • บทความประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล ชื่อหน่วยงานหรือสถาบันที่ผู้เขียนสังกัด ชื่อบทความ บทคัดย่อ คำสำคัญ เนื้อหาบทความ และเอกสารอ้างอิง
  • ความยาวบทความประมาณ 10-15 หน้าA4 (ไม่รวมภาพประกอบ) พิมพ์ด้วยตัวอักษรขนาด 16 pt. ระยะขอบด้านละ 1 นิ้ว ระยะบรรทัด 1.2 บรรทัด
  • ต้นฉบับที่มีตารางประกอบ ต้องระบุชื่อตาราง คำอธิบายที่มาของตารางให้ครบถ้วน
  • ภาพประกอบต้องเป็นภาพที่เป็นผลงานของผู้เขียนเอง หรือได้รับอนุญาตตามกฎหมายให้ตีพิมพ์ได้ โดยไฟล์ภาพควรเป็น .jpg หรือ .tiff ความละเอียด 1MB. ขึ้นไป และจัดส่งแยกจากไฟล์เนื้อหาบทความ และในเนื้อหาบทความควรอ้างอิงภาพประกอบรวมถึงระบุตำแหน่งภาพ (เช่น ระบุในวงเล็บ) ทั้งนี้ กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาจำนวนภาพประกอบตามความเหมาะสม
  • ผู้เขียนสามารถส่งต้นฉบับบทความในรูปแบบไฟล์เอกสาร Microsoft Word Document (.doc/ docx)
  • ในกรณีที่ผู้เขียนใช้โปรแกรมอัตโนมัติในการจัดการรายการอ้างอิง (เช่น EndNote หรือ Zotero) ขอให้ผู้เขียนตัดการเชื่อมโยงอัตโนมัติกับฐานข้อมูลรายการอ้างอิง เพื่อความสะดวกในกระบวนการบรรณาธิการ
  • รูปแบบการอ้างอิงเอกสารขอให้ยึดตามเกณฑ์ของคู่มือ The Chicago Manual โดยสามารถดูรายละเอียดได้ที่ https://www.chicagomanualofstyle.org/home.html

ติดต่อสอบถามรายละเอียด

Facebook Page: SocAnthTUMuseum

02-6966610     เหมือนพิมพ์

02-6966612     อุรฉัตร

02-6966613     เดชาภิวัชร์