ประชาสัมพันธ์

นิทรรศการ “สดับเสียงเงียบ จดจำตากใบ 2547”

“...ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยที่จะจัดวางและสืบทอดมรดกความทรงจำอันเจ็บปวดและยากลำบากกับการนึกถึงและหากต้องการที่จะลืม...” พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติร่วมกับโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุจังหวัดชายแดนใต้ ขอเชิญชมนิทรรศการ “สดับเสียงเงียบ จดจำตากใบ 2547” Heard the Unheard: Takbai 2004 ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต เปิดเข้าชม21...

ขอเชิญฟังการประชุมวิชาการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 2 Session 4: Archaeological innovation & Conservation works

พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ขอเชิญผู้ที่สนใจเข้าร่วมฟังการประชุมวิชาการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 2 (แบบออนไลน์) Session 4: Archaeological innovation & Conservation works

วัฒนธรรม “รัก” ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

วันอังคารที่ 9 กันยายน 2557 ณ ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ ชั้น 3 อาคารอเนกประสงค์ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ กำหนดการ 8.30 – 9.00 น. ลงทะเบียน 9.00 – 9.10 น. กล่าวเปิดงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ อุณโณ คณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 9.10 – 9.30 น. วัฒนธรรม “รัก” ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิเชฐ...

เสวนา “หนังและหนังสือ: เรื่องเล่าของการต่อต้าน”

นิทรรศการ “วัตถุพยานแห่งการต่อต้าน | Evidences of Resistance” โดย พิพิธภัณฑ์สามัญชน Museum of Popular History ร่วมกับ พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันพุธที่ 22 มีนาคม 2566เวลา 13.00-16.00 น.ขอเชิญทุกท่านร่วมรับชมภาพยนต์และเสวนาในหัวข้อ...

งานกิจกรรมนักศึกษาคณะสังคมวิทยา ร่วมกับพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ขอเชิญร่วมกิจกรรม ““Night at the Museum พิพิธภัณฑ์เฮี้ยน””

Enter if you dare! 👻 ต้อนรับเทศกาลน่าขนหัวลุกในเดือนตุลาคมนี้กับงานวันฮาลาวีน “Night at the Museum พิพิธภัณฑ์เฮี้ยน” จัดขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคมนี้ เริ่มลงทะเบียนเวลา 17.30 - 18.00 น. ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ภายในงานมีกิจกรรมต่างๆ พร้อมร่วมรับประทานอาหารฟรี! และมีการเสวนาเรื่องลับลี้กับผีสนามทางมานุษยวิทยาและเทพเจ้าฟูจิ...

นิทรรศการเคลื่อนที่ “แสง สิ่งของกับการมองเห็น: ภาพถ่าย สิ่งของจากภาคสนามและการเข้าใจคนอื่น” (รักชาติ เฟสติวัล ครั้งที่ 3)

เมื่อวันที่ 6-10มิถุนายน2561เวลา09.00-16.00น.พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ได้เข้าร่วมจัดนิทรรศการเคลื่อนที่ เรื่อง “แสง สิ่งของและการมองเห็น:ภาพถ่าย สิ่งของจากภาคสนามและการเข้าใจคนอื่น” ภายใต้งานนิทรรศการแสดงผลงานทางพิพิธภัณฑ์และอนุสรณ์สถานแห่งประเทศไทย ประจำปี 2561 (รักชาติ เฟสติวัล ครั้งที่ 3) ณ อนุสรณ์สถานแห่งชาติ ต.คูคต อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี งานนิทรรศการฯ ดังกล่าว จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมนโยบายการเรียนรู้นอกห้องเรียน ปลูกฝังอุดมการณ์รักชาติและเสริมสร้างความสามัคคีของคนในชาติ เพื่อแสดงผลงานทางพิพิธภัณฑ์ อนุสรณ์สถานและหน่วยงานต่างๆ...

รองศาสตราจารย์สุมิตร ปิติพัฒน์ เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม2561รองศาสตราจารย์สุมิตร ปิติพัฒน์ อดีตคณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา และผู้มีคุณูปการแก่พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ได้เข้ามาเยี่ยมชม นิทรรศการ “แสง สิ่งของและการมองเห็น:ภาพถ่าย สิ่งของจากภาคสนามและการเข้าใจคนอื่น”ทั้งนี้ในนิทรรศการดังกล่าว ทางพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติได้รับความอนุเคราะห์จากรองศาสตราจารย์สุมิตร ปิติพัฒน์ นำภาพถ่ายและสิ่งของจากภาคสนามมาร่วมจัดแสดงด้วยโดยสิ่งของที่ รองศาสตราจารย์ สุมิตร ปิติพัฒน์ ร่วมจัดแสดงนั้น จะหมุนเวียนทุกๆ3 เดือน เพื่อให้ผู้สนใจเข้าชมและเรียนรู้เรื่องราวการลงภาคสนามและชาติพันธุ์ต่างๆ ได้อย่างลึกซึ้ง นิทรรศการ “แสง สิ่งของและการมองเห็น:ภาพถ่าย...

แห่เทียนพรรษา: งานบุญ สร้างสามัคคีของพุทธศาสนิกชน

แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปีคือวันเข้าพรรษา ปี 2567 ตรงกับวันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม 2567 ความสำคัญของวันเข้าพรรษาคือการที่พระภิกษุสงฆ์อยู่จำพรรษาเป็นเวลา 3 เดือน โดยในระยะเวลา 3 เดือนพระภิกษุสงฆ์จะได้เพื่อศึกษาธรรมวินัย ในขณะเดียวกันก่อนจะถึงวันเข้าพรรษาเหล่าพุทธศาสนิกชนจะจัดเตรียมเทียนและผ้าอาบน้ำฝนเพื่อถวายวัด

เชิญชวนพี่น้องมุสลิมธรรมศาสตร์ ละหมาดดุหฺริร่วมกัน

วันอังคารที่ 19 กันยายน 2566 เนื่องในวันพิพิธภัณฑ์ไทย พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติมีกิจกรรมพิเศษเชิญชวนพี่น้องมุสลิม มธ. ละหมาดดุหฺริร่วมกัน ( เวลา 13.00 น.) ณ ห้องนิทรรศการมุสลิมทั้งผองพี่น้องกันพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มธ.ศูนย์รังสิต

พิมพ์ทำขนม

ทะเบียนวัตถุ: มธ. 1672/ 2535   ชื่อวัตถุ: พิมพ์ทำขนม   อายุ: พุทธศตวรรษที่ 25   ศิลปะ:-   วัสดุ:ไม้  ขนาด: กว้าง 12.6 เซนติเมตร, ยาว 32.7 เซนติเมตร, หนา 4.7 เซนติเมตร สภาพ: ชำรุด พิมพ์แตก ลักษณะ: พิมพ์ทำขนม (ชาวจีน) อาจจะเป็นพิมพ์ขนมอั่งถ่อก้วย ก็เป็นได้ “อั่งถ่อก้วย” เป็นภาษาจีนแต้จิ๋ว อั่ง...